ERI Chula Official

ERI Chula Official

Пікірлер

  • @jhumpon
    @jhumponАй бұрын

    ขอประชาสัมพันธ์ ตอนนี้เนื่องจากเกณฑ์มาตรฐานทางการเกษตรที่ดีสำหรับไม้ล้อม (GAP) จะถูกประกาศใช้โดยสมาคม ในวันที่ 18 พค. 2567 นี้ สมาคมการค้าไม้ขุดล้อมไทยร่วมกับคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จะจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ "การออกแบบพื้นที่แปลงปลูกไม้ล้อมที่ดี เพื่อให้ได้ตามมาตรฐาน GAP " ท่านใดสนใจที่จะเข้าอบรม ขอเชิญลงชื่อไว้ก่อนได้ครับ.. อบรม 2 วัน ค่าอบรมท่านละ 6,000 บาท รับจำนวนจำกัดเพียง 20 ท่าน ครับ (อบรม วิเคราะห์ สังเคราะห์ พื้นที่แปลงปลูก เพื่อนำมาออกแบบแบบผังตามเกณฑ์ GAP (MASTER PLAN) วิทยากร โดยภูมิสถาปนิก *** ผู้เข้าอบรมต้องเตรียมผังพื้นที่ปลูกจริงไม่น้อยกว่า 5 ไร่ แต่ไม่เกิน 20ไร่ มาอบรมนะครับ ***โครงการนี้ไม่ได้มุ่งหวังเฉพาะผู้มีที่ทางและการออกแบบให้ถูกต้องตามหลัก GAP เท่านั้น...แต่มุ่งหวังให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมได้รับประโยชน์ในส่วนของมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ " นักออกแบบพื้นที่สีเขียว ระดับ 3-5 " ด้วย โดยผ่านช่องทางการเทียบโอนประสบการณ์จากการฝึกอบรม Training Provider; TP ซึ่งสมาคมมีความร่วมมือกับหน่วยงานภายในของคณะเทคโนโลยีการเกษตร(ศูนย์รับรองมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพด้านการเกษตรและอาหาร ม.ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ฯ Agricultural Food Certified Center (AFCC) )..ซึ่งทุกท่านสามารถใช้ประสบการณ์ตรงนี้ เคลม มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ ตามที่แจ้งมาได้ครับ...เมื่อผ่านการประเมินตามมาตรฐานของแต่ละระดับแล้ว*** มีประโยชน์ต่อการทำงานในอาชีพนี้ ที่สามารถทำงานได้ในวงกว้าง(อาจจะทั่วโลกก็ว่าได้) เมื่อได้ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพแล้ว ลงชื่อสำรองไว้ได้ที่ คุณจุมพล ( นายทะเบียนสมาคมฯ ) LineID 0980468202 โทร 081-8087135 ( ยังไม่กำหนดวัน และสถานที่ครับ )

  • @lovethailand5125
    @lovethailand51259 ай бұрын

    ต้องปลูกอย่างน้อยกี่ไร่ค่ะ

  • @bchompoo
    @bchompoo3 ай бұрын

    10 ไร่ขึ้นไปค่ะ ฟังมาจากอีกช่องนึง

  • @phornlertthamnipanont2781
    @phornlertthamnipanont27819 ай бұрын

    อธิบายแบบนี้ ชาวบ้านจะเข้าใจได้ยังไง คนที่จะลงมือทำเรื่องคาร์บอนเครดิต คือเกษตรกร ชาวไร่ ชาวสวน เพราะเขาจะเป็นหน้างาน ที่ลงมือทำจริง แบบนี้เขาจะเข้าใจได้ยังไง ไร้สาระมาก

  • @user-cl8ke1ed7p
    @user-cl8ke1ed7p10 ай бұрын

    ยกเลิกทุนผูกขาดหรือเสือนอนกินกับทำนาบนหลังคนได้แล้ว

  • @user-cl8ke1ed7p
    @user-cl8ke1ed7p10 ай бұрын

    ต้นไม้มีอยู่แล้วควรขายได้เลยไม่ใช่ปลูกใหม่อย่างเดียว

  • @rasameesin890
    @rasameesin890 Жыл бұрын

    ทำไมเกษตรกรต้องเสียค่าประเมินเอง

  • @pannatatjuthasmith239
    @pannatatjuthasmith239 Жыл бұрын

    1. เซลล์เชื้อเพลิง ที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน มีหลายชนิด โดย แยกตามชนิดเชื้อเพลิง ที่ใช้กับมัน เช่น - ไฮโดรเจน - เมทานอล - เอทานอล - แอมโมเนีย 2. เซลล์เชื้อเพลิง ถูนำมาใช้กับรถไฟฟ้า และ อุปกรณ์อื่น มีอยู่มากมาย ที่คนไทยส่วนใหญ่ ไม่รู้ และ มักจะถูกสื่อ ปิดหูปิดตา ปชช.อยู่ - เพาเวอร์แบงค์ ใช้ เมทานอล - โดรน เครื่องบินเล็ก ใช้ ไฮโดรเจน , เมทานอล - สกุดเตอร์ เรือไฟฟ้า รถยนต์ ใช้ ไฮโดรเจน , - รถแวนไฟฟ้าของนิสสัน ใช้ เอทานอล - รถบรรทุก ใช้ ไฮโดรเจน ,แอมโมเนีย 3. การผลิตกรีนไฮโดรเจน ไม่ควรนำไปใช้กับเครื่องสันดาปภายใน แต่ ควรนำไปใช้กับ เซลล์เชื้อเพลิง จะดีที่สุด เพราะ - มีชิ้นส่วนน้อย - นน.เบา - ไม่ยุ่งยากในการดูแลรักษา - ให้ประสิทธิภาพเชิงพลังงสูง 4. รถยนต์ไฟฟ้าที่มีใช้กันอยู่นั้น มี 5 แบบ คือ - รถไฮบริด HEV - รถไฮบริดเสียบปลั๊กได้ PHEV - รถเสียบปลั๊ก BEV แต่มักเรียกติดปากันว่า รถ EV - รถตระกูล E -Power หรือ รถ EV + เครื่องยนต์ + เครื่องปั่นไฟ - รถไฟฟ้าแบบเซลล์เชื้อเพลิง FCEV ### ในราการนี้ทั้งหมด FCEV เป็นเทคโนโลยีสูงสุด ที่ตอบโจทย์จริง

  • @pannatatjuthasmith239
    @pannatatjuthasmith239 Жыл бұрын

    ที่พูดมาในเรื่อง การผลิตไฮโดรเจน น่าจะตกกระบวนการหนึ่งไป. คือ การรีฟอร์มไบโอมีเทน ด้วยไฟฟ้าจากพลังงานสะอาด ให้กลายเป็น กรีนไฮโดรเจน

  • @erichulaofficial9178
    @erichulaofficial9178 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากค่ะ

  • @pannatatjuthasmith239
    @pannatatjuthasmith239 Жыл бұрын

    เกาไม่ถูกที่คัน ( คาร์บอนเครดิต ) 1. เหมือนเดินตามตูด ตามเกมฝรั่ง / ทำนองเดียวกันกับ การบังคับทำ มาตรฐาน ISO TQM และ อื่นๆที่ผ่านมาในอดีต 2. รู้ทั้งรู้ว่า ตั้งแต่ยุคปฏิวีติอุตสาหกรรม ฝรั่งสูบปล้นทรัพยากร จากเกือบทุกที่ในโลก เพื่อไปบำรุงบำเรอความสุขสบายให้กับชาติมัน และ ปล่อยของเสียสู่ชั้นบรรยากาศมาแล้วมากมาย จากอดีต ถึง ปัจจุบัน 3. สิ่งที่ควรส่งเสริม ให้ ปชช.ไทย คือเข้าการถึง พลังงานทางเลือก ในระบบที่ตอบโจทย์จริง ลด หรือ ไม่ต้องพึ่งพา พลังงานผูกขาดเดิมๆ คือ ( รฟฟ. บ.ถ่านหิน บ.ปิโตรเลียม )เลย เช่น - รถยนต์ไฟฟ้า ระบบ FCEV หรือเซลล์เชื้อเพลิง ทั้งแบบที่ใช้ ( กรีนไฮโดรเจน / กรีนเอทานอล / แอมโมเนีย ) รวมไปถึง การผลิตเชื้อเพลิงเหล่านี้ ที่มีประสิทธิภาพ ต้นทุนต่ำ ที่ใช้วัตถุดิบหมุนเวียนจากท้องถิ่น ใช้พลังงานสะอาดในการผลิต และ แยกฐานการผลิตได้ เพิ่อลดการผูกขาดจากกลุ่มทุนพลังงานเดิม - สนับสนุนโซลาร์รูฟทอป ระบบไฮบริด + การยึดแผงในระบบตามตะวัน

  • @erichulaofficial9178
    @erichulaofficial9178 Жыл бұрын

    ขอขอบคุณสำหรับความคิดเห็นค่ะ ความคิดเห็นของท่านเป็นประโยชน์มากค่ะ

  • @dontreekhrutdilakanan8548
    @dontreekhrutdilakanan8548 Жыл бұрын

    สร้างโซล่าร์เซลติดหลังคาทุกบ้าน เอาไฟฟ้าไปแยกไฮโดรเจนเก็บไว้ปั่นไฟฟ้าตอนกลางคืนอีกที กรณีไฟฟ้าจากตอนกลางวันเหลือก็เก็บไว้ในแบตเตอรี่ขนาดใหญ่ตามบ้าน โรงงาน หมุนไปหมุนมา จบ

  • @user-os8mx2bz2k
    @user-os8mx2bz2k Жыл бұрын

    ทำไมคิดเฉพาะส่วนที่เพิ่ม ส่วนเก่าที่มีต้นไม้ก่อนแล้วไม่คิดให้ เขาจะเว้นต้นไม้ไว้ทำไม

  • @boatpratiphan.youtube
    @boatpratiphan.youtube Жыл бұрын

    👍👍

  • @woody_0
    @woody_0 Жыл бұрын

    อยากให้ส่งเสริมให้ความรู้กับชาวสวนยางให้มาก วิธีการขึ้นทะเบียนควรง่าย จะได้เป็นรายได้เพิ่มเติมกับชาวสวนยางครับ เพราะส่วนมากยังไปวุ่นวายกับราคายาง ราคาขึ้น ราคาลงทั้งที่เราควบคุมราคาไม่ได้

  • @erichulaofficial9178
    @erichulaofficial9178 Жыл бұрын

    ขอขอบคุณสำหรับความคิดเห็นค่ะ การผลักดันเรื่องสวนยาง จะเป็นประโยชน์มากๆค่ะ

  • @RangsantBandhukul
    @RangsantBandhukul Жыл бұрын

    ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนาจะเสียเปรียบเพราะระบบไม่เป็นมาตรฐานและขาดความรู้ความเข้าใจจะเสียเปรียบเทียบในขีดความสามารถในการแข่งขันเพราะต้องเสียภาษีคาร์บอนเครดิตในการส่งออกนำเข้าสินค้าและขาดแคลนเงินจากการลงทุนในต่างประเทศทำให้ประเทศและประชาชนยากจนและยากลำบากมากขึ้นไม่มีทางพ้นกับดักแห่งความยากจนได้

  • @virojkraidej7960
    @virojkraidej7960 Жыл бұрын

    ปลูกสักปาล์มยางพาราไปแล้วของผมน่าจะขายได้เลยสัก25ปียาง13ปีป่าล์ม8ปีน่าจะได้เงินรัฐมีแต่ขายฝันครับไม่เกิดตามมานานแล้วคลอดสักทีจะดีใหมคนบ้านนอกคอกนาไม่ต้องรอแต่แจกๆ

  • @jugkapongrattanasuwan1187
    @jugkapongrattanasuwan1187 Жыл бұрын

    มีหน่วยงานไหนที่ช่วยรับรองกระบวนการผลิตไฮโดรเจนในแต่ละสีหรือไม่ครับ

  • @erichulaofficial9178
    @erichulaofficial9178 Жыл бұрын

    ตอนนี้ยังไม่มีค่ะ

  • @TeerapolBKK
    @TeerapolBKK Жыл бұрын

    มี presentation แชร์ให้ศึกษาต่อมั้ยครับ

  • @erichulaofficial9178
    @erichulaofficial9178 Жыл бұрын

    Presentation สามารถดาวน์โหลดได้ใน link นี้ึ้คะ drive.google.com/drive/u/1/folders/1lwx4OD4K1nM1sjCe41bYi9G2kIsP4uHb

  • @pannatatjuthasmith239
    @pannatatjuthasmith239 Жыл бұрын

    พูดแบบตรงไปเลย เซลล์เชื้อเพลิง ทั้งแบบ ไฮโดรเจน และ เอทานอล และ กระบวนการผลิตเชื้อเพลิง ทั้ง 2 ชนืดนี้ ด้วยกระบวนการสะอาด แบบไม่ผูกขาดรวมศูนย์ นั้นเป็นศัตรู กับผลประโยชน์ กับผู้ที่กินผลประโยชน์อยู่กับ พลังงานเดิม คือ ( รฟฟ.ทั้ง รัฐ และ เอกชน / บ,ถ่านหิน / บ.ปิโตรเลียม ) การแปรรูป ปตท.ในอดีต.และ การัปิดช่อง ให้มี รฟฟ.เอกชน ผลิตไฟคู่ขนานกับ รฟฟ.รัฐ สิ่งเหล่านี้ คือช่อง ของการเกิดผลประโยชน์ ทับซ้อนขนาดใหญ่ 3 รูปแบบ คือ - ( นกม, นายทุน, ต่างชาติ ) เข้าไปถือหุ้นในธุรกิจพวกนี้ - ( ขรก. ทหาร. ตร, นักวิชาการ ) ที่มีอำนาจกำกับดูแล หรือ ขี้นำสัวคม อวยวาระให้ไปนั่งกินเงินเดือนบอร์ดของธุรกิจพวกนี้ - ( บรรดาสื่อ ) ถูกซื้อใจไส่เป็นกระบอกเสียง โดยการช่วยอุดหนุนค่าสปอทโฆษณา ของ สื่อพวกนี้

  • @pannatatjuthasmith239
    @pannatatjuthasmith239 Жыл бұрын

    นักวิชาการ ไม่ควรเรียกรถไฟฟ้า แบบ เซลล์เชื้อเพลิง ไฮโดรเจน ว่า รถไฮโดรเจน เพราะ ยังมี ปชช,ไทยอีกมาก ที่เขาไม่มีพื้นความรู้ และ พลอยเข้าใยแบบผืดๆไปว่า รถไฮโดรเจน คือ รถยนต์แบบเครื่องสันดาปภายใน ที่ใช้ไฮโดรเจน เป็นเชื่อเพลิง ซึ่ง มันคนละเรื่องกับรถไฟฟ้าแบบ FCEV หรือ เซลล์เชื้อเพลิงเลย

  • @pannatatjuthasmith239
    @pannatatjuthasmith239 Жыл бұрын

    1. ปชช. ควรจะทราบเสียก่อนว่า รถไฟฟ้านั้น มี 5 ชนืด คือ รถ HEV , รถ PHEV , รถเสียบปลั๊ก หรือ BEV หรือ EV รถแบบ E Power = EV + เครื่องปั่นไฟ + เครื่องยนต์ และ รถไฟฟ้าแบบ เซลล์เชื้อเพลิง หรือ FCEV 2. ในกระบวนรถไฟฟ้าทั้ง 5 ชนืด FCEV เป็น นวัตรกรรมที่ตอบโจทย์จรืง ที่สุด เซลล์เชื้อเพลิง คือ เครื่องกเนืดไฟฟ้ากระแสตรง จากปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี โดยไม่มีการสันดาปลุกไหม้ 3. เซลล์เชื้อเพลิง ถ้าจะแยกตามประเภทของเชื้อเพลิงที่ใช้ จริง ณ ปัจจุบัน มี 4 ชนืด คือ เซลล์เชื้อเพลิง..ไฮโดรเจน โปรเพน เมทานอล เอทานอล / พวกมันถูกประยุคต์ใช้กับ สินค้ามากมาย / แต่ คนไทยส่วนใหญ่ ถูกปิดหูปิดตาให้อยู่แค่ รถเสียบปลั๊ก Ev เพราะ รถไฟฟ้า Ev และ ไฮเปอร์ลูป สองนวัตรกรรมการขนส่งนี้ ม้นช่วย รักษาผลประโยชน์ จากภาคขนส่ง ให้ยังตกแก่กลุ่มทุน ผูกขสดเดิมๆ คือ ( รฟฟ. ทั้งรัฐ และ เอกชน / บ.ถ่านหิน / บ.ปิโตรเลียม ) และ มันยังช่วย ยืดอายุระบบเปโตรดอลล่า ของ อเมรืกา ที่เอาเปรียบชาวโลกมาอย่างเนิ่นนาน ให้ต่อลมหายใจ ยืดอายุออกไปอีก 4. เซลล์เชื้อเพลิง ที่ถูกนำประยุคต์ใช้กับรถ มี 2 ชนิด คือ ไฮโดรเจน และ เอทานอล / ต้นแบบรถยนต์ไฟฟ้าแบบ FCEV คือ โตโยต้ามิไร เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน จากญี่ปุ่น แต่ นิสสันแวน ทำได้ดีกว่านั้นอีก คือ รถไฟฟ้าแวนของนิสสัน เป็นระบบ เซลล์เชื้อเพลิงเอทานอล 5. ทั้งไฮโดรเจน และ เอทานอล ณ ปัจจุบัน สามารถใช้กระบวนสะอาด ในการผลิตเชื้อเพลิงพวกนี้ โดยที่ไม่ต้องพึ่งพา ( รฟฟ. บ.ถ่านหิน บ,ปิโตรเลียม ) ปชช.ควรต้องตื่นรู้ สิ่งเหล่านี้ เพื่อที่จะเท่าทัน นักวิชาการจากลุ่มทุนพลังงานผูกขาดเดิมๆ และ สื่อในเครือข่าย 6. ตย.การผลิตกรีนไฮโดรเจน ที่ได้จาการรีฟอร์ม ไบโอมีเทน ด้วยไฟฟ้าจากพลังวานสะอาด ( กังหันลม + โซลาร์เซลล์ ) ส่วนไบโอมีเทนนั้น มันคือ กาซมีเทนที่ได้จากการหมัก มูลสัตว์ ซากสัตว์ ซากพืช ขยะอินทรีย์จากเมือง และ เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร วิธีการเหล่านี้ ไม่จำต้องผูกขาดรวมศูนย์ผลิต แบบการกลั่นแยกปิโตรเลียม หรือ การผลิตไฟฟ้าจาก รฟฟ. และ ในอดีต รบ.ป๋าเปรม เคยส่งเสริมให้ ปชช.ผลิตใช้เองมาแล้ว เพื่อการหุงต้มในภาคครัว และ กาซนี้ก็เป็นโครงสร้างทางเคมีเดียวกันกับ มีเทนที่ได้จากการกลั่นแยกปิโตรเลียม เพียงแต่ มีเทนจากปิโตรเลียม กลับเรียกว่า Ngv ซึ่งแน่นอน รถแทกซี่ทั้งหลาย คุ้นเคยกันมาก 7. กรีนเอทานอล ทุกประเทศ ที่มีพืชผักทางการเกษตรอย่างเพียงพอนั้น สามารถผลิตเอทานอลใช้เอง ได้อย่างเหลือเฟือ และ ราคาถูกด้วย และนั้นก็รวมถึงประเทศไทยด้วยเช่นกัน แต่ ไทยนั้นยกเว้น สำหรับ ( แกสโซฮอล = เบนซิน + เอทานอล ) เอทานอลไทย ที่ถูกนำมาใช้ในการนี้ ถูกบืดราคาเวอร์ แพงกว่าตลาดโลกไปมาก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ทึ่ส่งผลให้ น้ำมันแกสโซฮอลไทย แพงเวอร์ขึ้นมา / โดยผู้เกี่ยวข้อง อ้างว่า ช่วยเกษตรกร แต่คำถามที่ ปชช.ไทยสงสัย คือ ช่วยเกษตร หรือ ช่วยผู้ทีกินผลประโยชน์อยู่กับปิโตรเลียม กันแน่...???

  • @ibfgkgfhhvdjbfh1185
    @ibfgkgfhhvdjbfh1185 Жыл бұрын

    รถจุดระเบิดด้วยไฮโดรเจนเนี่ย แทนที่จะเก็บไฮโดรเจนไว้กับรถก็เพียงเติมน้ำสะอาดในถังแล้วปั้มน้ำไปแยกด้วนไฟฟ้าDCได้ไฮโดรเจนกับออกซิเจน แล้วส่งเฉพาะไฮโดรเจนไปเข้าระบบจุดระเบิด น่าจะปลอดภัยประหยัดกว่าหรือมีขีดจำกัดอะไรครับ?

  • @veerakron
    @veerakron Жыл бұрын

    ขนาดของถังน้ำที่ใช้ผลิตไฮโดรเจน มันใหญ่มากครับแล้วแบตเตอรี่ในรถปกติ ไม่น่าจะพอ มั้งครับ

  • @dontreekhrutdilakanan8548
    @dontreekhrutdilakanan8548 Жыл бұрын

    แบตหมดก็จอด

  • @marketingknows8587
    @marketingknows8587 Жыл бұрын

    เนื้อหาเริ่ดเลอค่ามากๆ เป็นประโยชน์สุดๆ เลยค่า ขอบคุณสถาบันวิจัยพลังงานที่ทำเนื้อหาดีๆ เป็นกำลังใจให้ผลิตเนื้อหาดีๆ แบบนี้ต่อไปนะคะ 😍

  • @energyresearchinstitutechu6418
    @energyresearchinstitutechu6418 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากค่ะ

  • @noppadolsoangpadith9119
    @noppadolsoangpadith9119 Жыл бұрын

    ติดตามแล้วครับ

  • @erichulaofficial9178
    @erichulaofficial9178 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @sangtongseetong2175
    @sangtongseetong2175 Жыл бұрын

    เท่าที่ศึกษามานิดหน่อย ไม่มาก เพราะจำมากไปก็ไม่มีประโยชน์ หลักการผลิต ก็แยกก็าซออกจาก น้ำ สุดท้ายได้ก๊าซไฮโดเจนเหลว ใส่ถังเก็บ เหมือนแก๊ส,ก๊าซหุงต้ม ถ้ามาใส่ในรถจะมีหม้อต้มแบบเดียว กัน ก๊าซไฮโดเย่น มีข้อเสียคือ ถ้า ขนส่งไกลๆจะเกิดการสูญเสีย 40% ระเบิดง่าย เกาหลีเหนือนำไปผลิต อาวุธระเบิดไฮโดรเย่น มีความแรง พอๆกับนิวเคลียร์ ญี่ปุ่นโดยโตโยต้า เคยคิดจะผลิต รถออกมา แต่ต้องพับไปเพราะ ขัอ จำกัดมันเยอะ ต้นทุนสูง แต่ถ้าผลิต ออกมามากๆ เป็นพลังงานทางเลือก เหมือนโซล่าเซล เหมือนรถไฟฟ้าใช้ แบ็ตเตอรี่แต่ค่าเปลี่ยนแบ็ตที่5-8แสน กว่าบาท แบ็ตมีอายุการใช้งานสั้นแค่ 2-3ปีตัองเปลี่ยนใหม่ มีช็อตไหม้รถได้ ถ้าจอดทิ้งไว้ ไหม้รถไฟฟ้าลามไปไหม้ รถจอดอื่นๆอีก ถ้าจอดบริเวณบ้านก็ไหม้ รถลามไปไหม้บ้านและบ้านคนอื่นๆยก ซอย สมมุติถ้าผลิตไฮโดรเย่น พร้อม รถพร้อม ข้อเสีย เรายังไม่รู้ ราคาก๊าซ เติมรถไม่รู้ ราคารถไม่รู้ มันเป็นช่วงบุก เบิกมีปรับปรุงแก้ไขตามมาอีกมาก.