"พลังงานไฮโดรเจน" จิ๊กซอว์สำคัญของการเปลี่ยนผ่านทางพลังงานไทย I EP.3

พลังงานไฮโดรเจนคืออะไร จะช่วยให้ไทยบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนและเป้าหมายการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (net zero emission) ได้จริงหรือ และภาครัฐต้องทำอย่างไร จึงจะช่วยผลักดันการใช้พลังงานไฮโดรเจนได้อย่างเป็นรูปธรรม มาร่วมหาคำตอบได้ใน Podcast EP.3
พูดคุยกับ ดร. นิธิดา นาคะปรีชา นักวิจัยของสถาบันวิจัยพลังงาน ในหัวข้อ "พลังงานไฮโดรเจน" จิ๊กซอว์สำคัญของการเปลี่ยนผ่านทางพลังงานไทย
00:00 เกริ่นนำ
01:57 Hydrogen คืออะไร
02:56 Hydrogen ไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง
04:50 Hydrogen มีหลายสี เช่น ไฮโดรเจนสีเขียว ไฮโดรเจนสีน้ำเงิน หรือสีอื่นๆ ข้อแตกต่างแต่ละสีคืออะไร
07:29 Hydrogen สะอาดจริงหรือไม่ และพลังงานนี้มีศักยภาพที่จะช่วยลดปริมาณการปล่อย CO2 ได้หรือไม่
08:38 มีประเทศไหนบ้างที่เริ่มใช้ hydrogen แล้ว (ยกตัวอย่าง 2-3 ประเทศ)
10:22 โอกาสที่ประเทศไทย จะเริ่มใช้ hydrogen
10:47 ความท้าทายที่ประเทศไทย จะเริ่มใช้ hydrogen
12:46 ปัจจุบัน ภาครัฐมีแผน และนโยบายสนับสนุนเกี่ยวกับ hydrogen อะไรบ้าง
14:15 ในมุมมองของ ดร.นิ่ม บทบาทของ hydrogen สามารถเป็นพลังงานทางเลือกในการช่วยให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมาย carbon neutral และ net zero ได้หรือไม่
15:02 นโยบายที่ต้องการสนับสนุนจากภาครัฐ เพื่อส่งเสริมการใช้ hydrogen มีอะไรบ้าง
16:11ภาคประชาชนสามารถมีส่วนร่วมในเรื่องการใช้ hydrogen ได้อย่างไร
--------------------------
ERI Podcast Presented by Energy Research Institute, Chulalongkorn University
Website: www.eri.chula.ac.th
Facebook Fanpage: / energy.resea. .
Email: eri@chula.ac.th
โทร: 0-2218-8096-7
#erichula #eripodcast
ติดตาม ERI Podcast ได้ที่ช่องทาง:
Spotify: open.spotify.com/episode/70Yd...
Anchor: anchor.fm/eri-chula/episodes/...
Podbean: www.podbean.com/media/share/p...

Пікірлер: 9

  • @dontreekhrutdilakanan8548
    @dontreekhrutdilakanan8548 Жыл бұрын

    สร้างโซล่าร์เซลติดหลังคาทุกบ้าน เอาไฟฟ้าไปแยกไฮโดรเจนเก็บไว้ปั่นไฟฟ้าตอนกลางคืนอีกที กรณีไฟฟ้าจากตอนกลางวันเหลือก็เก็บไว้ในแบตเตอรี่ขนาดใหญ่ตามบ้าน โรงงาน หมุนไปหมุนมา จบ

  • @jugkapongrattanasuwan1187
    @jugkapongrattanasuwan1187 Жыл бұрын

    มีหน่วยงานไหนที่ช่วยรับรองกระบวนการผลิตไฮโดรเจนในแต่ละสีหรือไม่ครับ

  • @erichulaofficial9178

    @erichulaofficial9178

    Жыл бұрын

    ตอนนี้ยังไม่มีค่ะ

  • @ibfgkgfhhvdjbfh1185
    @ibfgkgfhhvdjbfh1185 Жыл бұрын

    รถจุดระเบิดด้วยไฮโดรเจนเนี่ย แทนที่จะเก็บไฮโดรเจนไว้กับรถก็เพียงเติมน้ำสะอาดในถังแล้วปั้มน้ำไปแยกด้วนไฟฟ้าDCได้ไฮโดรเจนกับออกซิเจน แล้วส่งเฉพาะไฮโดรเจนไปเข้าระบบจุดระเบิด น่าจะปลอดภัยประหยัดกว่าหรือมีขีดจำกัดอะไรครับ?

  • @veerakron

    @veerakron

    Жыл бұрын

    ขนาดของถังน้ำที่ใช้ผลิตไฮโดรเจน มันใหญ่มากครับแล้วแบตเตอรี่ในรถปกติ ไม่น่าจะพอ มั้งครับ

  • @dontreekhrutdilakanan8548

    @dontreekhrutdilakanan8548

    Жыл бұрын

    แบตหมดก็จอด

  • @sangtongseetong2175
    @sangtongseetong2175 Жыл бұрын

    เท่าที่ศึกษามานิดหน่อย ไม่มาก เพราะจำมากไปก็ไม่มีประโยชน์ หลักการผลิต ก็แยกก็าซออกจาก น้ำ สุดท้ายได้ก๊าซไฮโดเจนเหลว ใส่ถังเก็บ เหมือนแก๊ส,ก๊าซหุงต้ม ถ้ามาใส่ในรถจะมีหม้อต้มแบบเดียว กัน ก๊าซไฮโดเย่น มีข้อเสียคือ ถ้า ขนส่งไกลๆจะเกิดการสูญเสีย 40% ระเบิดง่าย เกาหลีเหนือนำไปผลิต อาวุธระเบิดไฮโดรเย่น มีความแรง พอๆกับนิวเคลียร์ ญี่ปุ่นโดยโตโยต้า เคยคิดจะผลิต รถออกมา แต่ต้องพับไปเพราะ ขัอ จำกัดมันเยอะ ต้นทุนสูง แต่ถ้าผลิต ออกมามากๆ เป็นพลังงานทางเลือก เหมือนโซล่าเซล เหมือนรถไฟฟ้าใช้ แบ็ตเตอรี่แต่ค่าเปลี่ยนแบ็ตที่5-8แสน กว่าบาท แบ็ตมีอายุการใช้งานสั้นแค่ 2-3ปีตัองเปลี่ยนใหม่ มีช็อตไหม้รถได้ ถ้าจอดทิ้งไว้ ไหม้รถไฟฟ้าลามไปไหม้ รถจอดอื่นๆอีก ถ้าจอดบริเวณบ้านก็ไหม้ รถลามไปไหม้บ้านและบ้านคนอื่นๆยก ซอย สมมุติถ้าผลิตไฮโดรเย่น พร้อม รถพร้อม ข้อเสีย เรายังไม่รู้ ราคาก๊าซ เติมรถไม่รู้ ราคารถไม่รู้ มันเป็นช่วงบุก เบิกมีปรับปรุงแก้ไขตามมาอีกมาก.

  • @pannatatjuthasmith239
    @pannatatjuthasmith239 Жыл бұрын

    1. ปชช. ควรจะทราบเสียก่อนว่า รถไฟฟ้านั้น มี 5 ชนืด คือ รถ HEV , รถ PHEV , รถเสียบปลั๊ก หรือ BEV หรือ EV รถแบบ E Power = EV + เครื่องปั่นไฟ + เครื่องยนต์ และ รถไฟฟ้าแบบ เซลล์เชื้อเพลิง หรือ FCEV 2. ในกระบวนรถไฟฟ้าทั้ง 5 ชนืด FCEV เป็น นวัตรกรรมที่ตอบโจทย์จรืง ที่สุด เซลล์เชื้อเพลิง คือ เครื่องกเนืดไฟฟ้ากระแสตรง จากปฏิกริยาไฟฟ้าเคมี โดยไม่มีการสันดาปลุกไหม้ 3. เซลล์เชื้อเพลิง ถ้าจะแยกตามประเภทของเชื้อเพลิงที่ใช้ จริง ณ ปัจจุบัน มี 4 ชนืด คือ เซลล์เชื้อเพลิง..ไฮโดรเจน โปรเพน เมทานอล เอทานอล / พวกมันถูกประยุคต์ใช้กับ สินค้ามากมาย / แต่ คนไทยส่วนใหญ่ ถูกปิดหูปิดตาให้อยู่แค่ รถเสียบปลั๊ก Ev เพราะ รถไฟฟ้า Ev และ ไฮเปอร์ลูป สองนวัตรกรรมการขนส่งนี้ ม้นช่วย รักษาผลประโยชน์ จากภาคขนส่ง ให้ยังตกแก่กลุ่มทุน ผูกขสดเดิมๆ คือ ( รฟฟ. ทั้งรัฐ และ เอกชน / บ.ถ่านหิน / บ.ปิโตรเลียม ) และ มันยังช่วย ยืดอายุระบบเปโตรดอลล่า ของ อเมรืกา ที่เอาเปรียบชาวโลกมาอย่างเนิ่นนาน ให้ต่อลมหายใจ ยืดอายุออกไปอีก 4. เซลล์เชื้อเพลิง ที่ถูกนำประยุคต์ใช้กับรถ มี 2 ชนิด คือ ไฮโดรเจน และ เอทานอล / ต้นแบบรถยนต์ไฟฟ้าแบบ FCEV คือ โตโยต้ามิไร เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน จากญี่ปุ่น แต่ นิสสันแวน ทำได้ดีกว่านั้นอีก คือ รถไฟฟ้าแวนของนิสสัน เป็นระบบ เซลล์เชื้อเพลิงเอทานอล 5. ทั้งไฮโดรเจน และ เอทานอล ณ ปัจจุบัน สามารถใช้กระบวนสะอาด ในการผลิตเชื้อเพลิงพวกนี้ โดยที่ไม่ต้องพึ่งพา ( รฟฟ. บ.ถ่านหิน บ,ปิโตรเลียม ) ปชช.ควรต้องตื่นรู้ สิ่งเหล่านี้ เพื่อที่จะเท่าทัน นักวิชาการจากลุ่มทุนพลังงานผูกขาดเดิมๆ และ สื่อในเครือข่าย 6. ตย.การผลิตกรีนไฮโดรเจน ที่ได้จาการรีฟอร์ม ไบโอมีเทน ด้วยไฟฟ้าจากพลังวานสะอาด ( กังหันลม + โซลาร์เซลล์ ) ส่วนไบโอมีเทนนั้น มันคือ กาซมีเทนที่ได้จากการหมัก มูลสัตว์ ซากสัตว์ ซากพืช ขยะอินทรีย์จากเมือง และ เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร วิธีการเหล่านี้ ไม่จำต้องผูกขาดรวมศูนย์ผลิต แบบการกลั่นแยกปิโตรเลียม หรือ การผลิตไฟฟ้าจาก รฟฟ. และ ในอดีต รบ.ป๋าเปรม เคยส่งเสริมให้ ปชช.ผลิตใช้เองมาแล้ว เพื่อการหุงต้มในภาคครัว และ กาซนี้ก็เป็นโครงสร้างทางเคมีเดียวกันกับ มีเทนที่ได้จากการกลั่นแยกปิโตรเลียม เพียงแต่ มีเทนจากปิโตรเลียม กลับเรียกว่า Ngv ซึ่งแน่นอน รถแทกซี่ทั้งหลาย คุ้นเคยกันมาก 7. กรีนเอทานอล ทุกประเทศ ที่มีพืชผักทางการเกษตรอย่างเพียงพอนั้น สามารถผลิตเอทานอลใช้เอง ได้อย่างเหลือเฟือ และ ราคาถูกด้วย และนั้นก็รวมถึงประเทศไทยด้วยเช่นกัน แต่ ไทยนั้นยกเว้น สำหรับ ( แกสโซฮอล = เบนซิน + เอทานอล ) เอทานอลไทย ที่ถูกนำมาใช้ในการนี้ ถูกบืดราคาเวอร์ แพงกว่าตลาดโลกไปมาก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ทึ่ส่งผลให้ น้ำมันแกสโซฮอลไทย แพงเวอร์ขึ้นมา / โดยผู้เกี่ยวข้อง อ้างว่า ช่วยเกษตรกร แต่คำถามที่ ปชช.ไทยสงสัย คือ ช่วยเกษตร หรือ ช่วยผู้ทีกินผลประโยชน์อยู่กับปิโตรเลียม กันแน่...???

  • @pannatatjuthasmith239
    @pannatatjuthasmith239 Жыл бұрын

    นักวิชาการ ไม่ควรเรียกรถไฟฟ้า แบบ เซลล์เชื้อเพลิง ไฮโดรเจน ว่า รถไฮโดรเจน เพราะ ยังมี ปชช,ไทยอีกมาก ที่เขาไม่มีพื้นความรู้ และ พลอยเข้าใยแบบผืดๆไปว่า รถไฮโดรเจน คือ รถยนต์แบบเครื่องสันดาปภายใน ที่ใช้ไฮโดรเจน เป็นเชื่อเพลิง ซึ่ง มันคนละเรื่องกับรถไฟฟ้าแบบ FCEV หรือ เซลล์เชื้อเพลิงเลย

Келесі