คนเราจะฝึกให้นอนน้อยได้หรือไม่ นอนน้อยแต่ไม่ง่วง มีผลเสียอะไรหรือเปล่า

สามารถไปอ่านงานวิจัยได้ตามนี้ครับ โดยในลิงค์จะมีไฟล์ pdf ตัวเต็มอยู่ครับ
academic.oup.com/sleep/articl...
สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

Пікірлер: 328

  • @thisisnathathai
    @thisisnathathai Жыл бұрын

    คนเราจะฝึกให้นอนน้อยได้หรือไม่ นอนน้อยแต่ไม่ง่วง มีผลเสียอะไรหรือเปล่า สวัสดีครับ เคยมีคนสงสัยไหมครับว่าบางคนที่เขานอนน้อยจนเป็นกิจวัตรประจำวันไม่ว่าจะด้วยหน้าที่การงานหรือด้วยลักษณะนิสัยประจำตัวของเขาที่เขาทำแบบนั้น แล้วเขาก็บอกว่าเขาก็นอนน้อยแต่เขาไม่รู้สึกง่วงเลยนะครับ นอนวันละ 4-5 ชั่วโมงประจำไม่รู้สึกง่วงเลย มันมีปัญหาจริงๆหรือเปล่านะครับ แล้วก็ในทางปฏิบัติเราเจอปัญหาอะไรบ้าง วันนี้ผมก็อยากจะยกงานวิจัยตัวนึงมาอ่านให้เราฟังกันเลยนะครับ แล้วงานวิจัยตัวนี้เป็นหนึ่งในงานวิจัยทางด้านการนอนหลับที่ผมคิดว่าทำได้ค่อนข้างที่จะดีมากๆเลยนะครับ ก็เดี๋ยวเราไปรับชมกันเลยนะครับ

  • @thisisnathathai

    @thisisnathathai

    Жыл бұрын

    1️⃣ พบกับผมนะครับ นายแพทย์ธนีย์ ธนียวันนะครับ เป็นอาจารย์แพทย์อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เชี่ยวชาญโรคปอด การปลูกถ่ายปอด และวิกฤตบำบัดนะครับ งานวิจัยตัวนี้ทำออกมานานมากแล้วนะครับ ตั้งแต่ปี 2003 นะครับ ก็คือ 20 ปีแล้วนะครับ แต่ว่ายังเป็นงานวิจัยที่ผมติดว่ามันดีสุดๆไปเลยนะครับ แล้วก็มันตอบโจทย์เรื่องนี้เป็นอย่างมากเลยนะครับ

  • @thisisnathathai

    @thisisnathathai

    Жыл бұрын

    3️⃣ ขั้นแรกงานวิจัยตัวนี้นะครับทำที่ University of Pennsylvania School of Medicine ที่รัฐ Pennsylvania เป็นมหาวิทยาลัยทางการแพทย์ที่ค่อนข้างใหญ่ทีเดียวนะครับ ก็ทำร่วมกับ Harvard Medical School และเดี๋ยวเราเข้าไปอ่านกันเลยนะครับว่าเขาทำอะไร ยังไงบ้าง ตรงนี้เป็นบทคัดย่อซึ่งผมจะข้ามมันไปก่อนนะครับ เพราะว่าปกติผมอ่านคร่าวๆก็จะไม่ได้สนใจบทคัดย่อมาก แค่เป็นการเรียกร้องว่างานนี้น่าอ่านจริงหรือเปล่านะครับ

  • @thisisnathathai

    @thisisnathathai

    Жыл бұрын

    5️⃣ เรามาดูก่อนงานวิจัยชิ้นนี้เขาทำในผู้ใหญ่นะครับ ผู้ใหญ่ที่อายุ 21-38 ปีนะครับ ซึ่งก็คือเป็นช่วงที่มักจะมีการนอนน้อยด้วยหน้าที่การงานอยู่แล้วนะครับ หรือบางคนเล่นเกมดึกก็จะอยู่ในช่วงนี้เป็นประจำนะครับ และก็มักจะเป็นช่วงที่เราคิดว่าตัวเราเองแข็งแรง นอนน้อยก็ไม่มีปัญหาอะไรนะครับ ไปเที่ยวผับเที่ยวบาร์แล้วก็ตอนเช้าไปเรียนได้ตามปกติโดยไม่มีปัญหา ไม่ง่วงด้วยนะครับ อันนั้นมันเป็นจริงหรือเปล่าตรงนี้ก็ตอบโจทย์เพราะว่าเขาเลือกช่วงอายุของคนที่มันน่าจะมีประสบการณ์ทางด้านนี้ตรงที่สุดนะครับ โดยเขาก็เอาคนเหล่านี้มาตรวจเลยนะครับ โดยเขาจะมีทั้งหมด 3 วันก่อนที่จะเข้าสู่การทดลองจริงนะครับ คือวันนึงให้ปรับตัวเข้ากับที่ที่เขาจะทดลองก่อน คือเขาจะให้ทุกคนเข้ามาอยู่ในบริเวณเดียวกันเลยนะครับเป็น Lab ทดลองใหญ่ๆไม่ให้ออกไปไหนเลยนะครับ จนกว่าจะจบการทดลอง ซึ่งมันจะควบคุมได้ทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับคนเหล่านี้นะครับ

  • @thisisnathathai

    @thisisnathathai

    Жыл бұрын

    6️⃣ วันแรกที่มาก็คือให้ปรับตัวก่อนแล้วก็มีอีกสองวันนะครับ คือให้นอนเต็มที่ 8 ชั่วโมงนะครับ ก็คือให้นอนปกติ แล้วหลังจากครบสามวันแล้วเขาก็จะสุ่มตัวอย่างเข้าไปสู่การทดลองนะครับ สุ่มตัวอย่างมีทั้งหมด 4 กลุ่มตัวอย่างด้วยกันนะครับ คือกลุ่มแรก หลังจากนี้เป็นต้นไป 14 วันจะเป็นการทดลองนะครับ

  • @thisisnathathai

    @thisisnathathai

    Жыл бұрын

    7️⃣ ⭕️กลุ่มแรกให้นอน 8 ชั่วโมงทุกวัน ⭕️กลุ่มที่ 2 นอน 6 ชั่วโมงทุกวัน ⭕️กลุ่มที่ 3 นอน 4 ชั่วโมงทุกวัน โดยเวลาที่เขานอน เขาจะเรียกว่าเป็น time in bed นะครับ เขาไม่สนใจว่าคุณจะหลับหรือไม่หลับนะครับ ตรงนี้ต้องเข้าใจนะครับ หลับหรือไม่หลับไม่รู้แต่ว่าให้ช่วงชั่วโมงที่เขาต้องการให้นอนอยู่บนเตียงนะครับ ท่านจะหลับไม่หลับก็เรื่องของท่านนะครับ ⭕️มีอีกกลุ่มนึงก็คือกลุ่มที่ 4 นะครับ กลุ่มที่ 4 นี้คือ จะไม่ได้นอนเลยตลอดเวลา เป็นระยะเวลา 88 ชั่วโมง หรือที่เรียกว่า 3 วันเต็มนั่นแหละครับ และหลังจากที่ครบ 88 ชั่วโมงก็จะให้นอนนะครับ

  • @VithaviT
    @VithaviT2 күн бұрын

    จากที่เคยนอนเกิน 6 ชั่วโมง แต่ 5-6 ปีหลัง เฉลี่ย 5 ชั่วโมงทำซ้ำๆบ่อยๆก็ไม่ง่วงจริงครับ แต่ที่สังเกตชัดคือ ใช้เวลาคิดนานขึ้น บางครั้งก็ขี้ลืม รู้สึกได้เลยว่าการทำงานของสมองแย่ลง ปัจจุบันพยายามปรับการนอนแต่ด้วยความเคยชินมันไม่สามรถนอนยาวๆได้เลยถ้าไม่เพลียจริงๆ

  • @ALL86898
    @ALL86898 Жыл бұрын

    เรื่องการนอนน้อย การอดนอน อันนี้เชื่อเลยค่ะว่างานวิจัยนี้สุดยอดแล้ว เพราะตัวเองมีประสบการณ์หลายอย่างที่อดนอนแล้วเกิดปัญหากับสมองและร่างกายทั้งสองอย่าง ถึงขั้นเหมือนตัวเองหมดสติไป โดยปกติตั้งแต่เด็กเป็นคนนอนเก่งมากๆอ ยู่หน้าทีวีหลับหัวค่ำทุกที และพอดีมีปานกลางหลังโบราณว่านอนเก่งก็เป็นความเชื่ออย่างนี้เฉพาะคน ตัวเองอดนอนไม่ได้เมื่อทำงานโตขึ้นจึงเป็นคนไม่ดูละครเลยซีรีย์หนังดึกน้อยครั้งที่ดูก็นอนสองทุ่มสามทุ่มประจำ แล้วเวลาเข้าค่ายกับน.รต้องอดนอนมีกิจกรรมดึกๆติดต่อกันสามวัน ป่วยเลยค่ะ ความดันตก สมองไม่สั่งงานมึนงง จนต้องหาหมอ อันนี้ไม่น่ากลัวเท่าช่วยงานให้ร้านอาหารที่ต้องอยู่ยาวนานหลายช.มแล้วดึกปิดร้านกว่าจะกลับบ้าน เกิดอาการน๊อกสามครั้งคนละวันกันโดยไม่รู้ตัว ตอนนั่งรถกลับบ้าน ขึ้นรถหลับไปน้องเรียก ครั้งแรกไม่รู้สึก ตอนนั้น ได้ยินเค้าเรียกแต่ลืมตาไม่ขึ้น ครั้งสองเพื่อนมาส่งเลิกร้าน ถึงบ้านแล้วเรียกไม่รู้สึกเค้าเลยจอดสักพักให้นอน แล้วค่อยเรียกถึงรู้สึกตัว ครั้งที่สาม รถมาจอดส่งหน้าบ้าน ไม่รู้สึกตัวอีกเรียกเท่าไหร่ๆไม่ตื่น จนเค้าต้องเคาะกระจกดัง ตอนนี้รู้สึกกลัวการอดนอนมากๆค่ะ จึงนอนหัวค่ำเยอะเป็นสิบช.มเลย ถ้าช่วงไหนอดนอนเข้าค่ายอบรมเด็กน.รกลับมานอนติดต่อกันเป็นอาทิตย์แบบคุณหมอบอก ความจำจึงกลับมารู้ตัวเลยค่ะอดนอนคิดช้า นึกอะไรไม่ออกจึง ลดการดื่มกาแฟ และมาใช้เครื่องช่วยให้หลับนานขึ้นอย่างมีคุณภาพ ไม่ใช่ตื่นกลางดึกบ่อยๆ ขอบคุณหมอมากค่ะ ที่มาให้ความรู้ ชีวิตนี้การอดนอนสำหรับตัวเองมันทรมานมาก ค่ะ น่ากลัวการหลับไปเฉย ๆเพราะเกิดกับพี่ที่รู้จักอดนอนมากหัวใจเต้นผิดปกติจนต้องหาหมอค่ะ มีผลหลายอย่างจริงๆค่ะ ขับรถหลับในได้ อันตราย ค่ะ🙏

  • @relaxbodymind8229

    @relaxbodymind8229

    Жыл бұрын

    เครื่องช่วยให้หลับนานขึ้น มันคืออะไรคะ ซื้อมาจากไหน ส่วนตัวแล้วเรื่องนอนคืออันดับ 1 รองมาคือเรื่องกิน นอนเยอะมาแต่เด็ก แต่โตมาก่พยายามนอนให้เพียงพอ เพราะด้วยนินพอบ้างไม่พอบ้าง เพราะงานเยอะ มีเวลายังไงก่ให้เรื่องนอนเปนอันดับแรก

  • @ALL86898

    @ALL86898

    Жыл бұрын

    @@relaxbodymind8229 สวัสดีค่ะสำหรับคนที่ชอบนอนเยอะ ก็ต้องนอนให้สบายด้วยนะคะ ตัวเองนอนหลับแล้วบางทีไอบ้าง ตื่นบ่อยๆสะดุ้งบ้างเหมือนตัวเองติดขัดการหายใจเนื่องด้วยให้ความสำคัญในการนอน55ก็สงสัยตัวเองว่านอนหลับสามช.ม ตื่น สองช.มตื่น ก็นอนเยอะนะคะแต่ไม่สดชื่นและมาเพลียบ้างบางวัน เลยไปตรวจการนอนหลับค่ะที่ร.พ พบว่าขณะที่นอนมีการหยุดหายใจใน1ช.มหลายครั้ง มีนอนกรนเล็กน้อย คุณหมอหูตาคอจมูกท่านดูในคอบอกช่องคอ เล็ก เวลานอนลิ้นน จะหย่อนไปปิดกั้นทางเดินหายใจค่ะลมจึงเข้าไปในปอดน้อย รอบคอก็เล็ก จึงได้รักษาโดยใข้เครื่องแรงดันลมค่ะชื่อCPAPเป็นเครื่องของออสเตรีย ซื้อจากบริษัทEoLifemedค่ะ พอดีใข้สิทธิ์เบิกคืนได้สองหมื่นบาท กับกรมหน่วยงานต้นสังกัดค่ะ จึงมาใช้แล้วณ ตอนนี้ค่ะทำให้นอนติดต่อกันยาวหลายช.มแบบไม่ต้องกังวลเรื่องอากาศที่เข้าไปในปอดค่ะ รู้สึกอารมณ์ดีสดชื่นขึ้น ค่ะ ขอบคุณค่ะที่ถามก็อธิบายจากความจริงที่ใช้ค่ะ😊

  • @kanyamuay3748
    @kanyamuay3748 Жыл бұрын

    หนี้การนอนหลับ Sleep Debt หนี้การนอนหลับ หมายถึง การอดนอนที่ค่อยๆ สะสมวันละเล็กวันละน้อยจนส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะในกลุ่มคนวัยทำงาน ที่มักโหมงานหนัก นอนดึก พักผ่อนไม่พอ และขอนอนตื่นสายในวันหยุดสุดสัปดาห์ เพราะคิดว่าสามารถชดเชยความสดชื่นให้คืนกลับมาได้ การนอนตื่นสายในวันหยุดจะยิ่งทำให้การนอนหลับไม่มีประสิทธิภาพหนักไปกว่าเดิม ส่งผลให้นาฬิกาชีวิตรวน คนที่อดนอนสะสมต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ยิ่งเป็นการสะสมหนี้การนอนหลับให้พอกพูน ทำให้สมองและอวัยวะสำคัญต่างๆ ของร่างกายไม่ได้พักผ่อนอย่างเต็มที่ ส่งผลให้ประสิทธิภาพทางด้านความจำ การตัดสินใจ และสมาธิลดลง การอดนอนสะสมยังทำให้เสี่ยงต่อโรคอ้วน เมตาบอลิกซินโดรม และทำให้รู้สึกหดหู่

  • @FragranzaTrippa

    @FragranzaTrippa

    Жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลเรื่อง หนี้การนอนค่ะ... สอบถามค่ะ พี่หมวยเป็นหนี้การนอนกี่ชั่วโมงแล้วคะ😴

  • @kanyamuay3748

    @kanyamuay3748

    Жыл бұрын

    @@FragranzaTrippa บอกไม่ถูกเลยค่ะ กว่าจะทำงานอะไรเสร็จ นอนและตื่นไม่เป็นเวลา😀😀

  • @amporngodnok6321

    @amporngodnok6321

    Жыл бұрын

    อยาก​ได้​ข้อความ​นี้

  • @kiriyachayakul7077
    @kiriyachayakul7077 Жыл бұрын

    ช่วงที่โหมงานหนัก นอนน้อย มีอยู่วันหนึ่งต้องขับรถออกไปธุระกับลูกๆ รู้สึกได้เลยว่าภาพที่มองเห็นจากถนนมันดีเลย์ ยิ่งตอนกลอกตามองกระจกด้านข้างเพื่อเปลี่ยนเลนนี่คือชัดเลยค่ะ ตาเรายังเห็นภาพจากกระจกหน้ารถอยู่พักนึงเลย วันนั้นคือตระหนักถึงความสำคัญของการจัดเวลาให้ชีวิตเลยค่ะ ถ้าเกิดอะไรขึ้นมาคือสูญเสียร้ายแรงมาก

  • @CXSORIOUS
    @CXSORIOUS Жыл бұрын

    ผมนั้นเอง นั่ง Coding เกม มากสุดได้ 3 วัน จนไม่ไหวต้องนอนละ ไม่ได้ทำอะไร นั่งหน้าคอม Load โค๊ก เรื่อยๆ กินตามปกติ ไม่ได้ออกแรงอะไร ของผม นอนตื่นเองตามปกติ ครบ 8 ชม ตื่นให้อัตโนมัติ หัวถึงหมอนหลับยาว ..พอหลังนอนจนร่างกายตื่นเอง ไม่มีอาการง่วงนอนหลังนอนครบ ถ้านอนน้อย ตัวจะเริ่มรู้สึกลอย สมองความตื่นตัว Blank ไปหมด เลยต้องนอน ไม่งั้นคิดอะไรไม่ออก . ให้สมองได้พักบ้าง ใช้งานมาทั้งวัน มันจะคิดอะไรไม่ออก

  • @boomsong5729
    @boomsong5729 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์ การนอนหลับที่เพียงพอ มีความสำคัญต่อคุณภาพชีวิต บางคนคิดว่า การนอนน้อยเป็นประจำไม่มีผลต่อสุขภาพ วันนี้คุณหมอมาอ่านงานวิจัย ถึงความน่ากลัวค่ะ คือคนที่นอนวันละ 4 ชม. หรือ 6 ชม. อย่างน้อย 2 อาทิตย์ ถึงแม้จะไม่ง่วง ทำให้ประสิทธิภาพการรับรู้บกพร่องเทียบเท่ากับการอดนอนถึง 2 วัน คนที่นอนน้อยจนชิน จนไม่รู้สึกง่วง ต่อให้มีสุขภาพแข็งแรงแค่ไหน ก็มีปัญหา ปัญหาที่เจอเยอะที่สุดคือ Attention Alertness คือปัญหาด้านสมาธิ การจดจ่อ และสติ Memory ปัญหาด้านความจำ Cognitive function ปัญหาการคิดวิเคราะห์ รับข้อมูล และการตัดสินใจ ขอบคุณมากค่ะคุณหมอแทน ขอให้คุณหมอมีเวลาพักผ่อนมากๆ หลับฝันดีทุกวันนะคะ 🌻🧡🌻

  • @boomsong5729
    @boomsong5729 Жыл бұрын

    ขอแสดงความยินดีค่ะคุณหมอแทน ยอดผู้ติดตาม 4.37 แสนคนค่ะ สถานีต่อไป 4.38 แสนคนค่ะ ช่อง Doctor Tany ช่องคุณภาพ ดีต่อสุขภาพกาย และสุขภาพใจ ขอให้ได้ล้านซับไวๆนะคะ 🌻🧡🌻

  • @witteronsmusk
    @witteronsmusk Жыл бұрын

    ❤🎧😊นอน3ทุ่มตื่นตี4ไม่หาวง่วงเรยคับเสริมด้วยฟิสออส-มัลติวิตามินแร่ธาตุเคี้ยว+อม แบ้คมอ2ตัว😊🎉งีบตอนบ่าย😅

  • @Spt_N_25
    @Spt_N_25 Жыл бұрын

    หนี้การนอนหลับ หรือ Sleep Debt เป็นหนึ่งในหนี้ที่คนยุคนี้สะสมพอกพูนกันแบบไม่รู้ตัว หนี้การนอนหลับ หมายถึง การอดนอนที่ค่อยๆ สะสมวันละเล็กวันละน้อยจนส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะในกลุ่มคนวัยทำงาน ที่มักโหมงานหนัก นอนดึก พักผ่อนไม่พอ และขอนอนตื่นสายในวันหยุดสัดสัปดาห์ เพราะคิดว่าสามารถชดเชยความสดชื่นให้คืนกลับมาได้ ทั้งที่จริงๆ แล้ว การนอนตื่นสายในวันหยุดจะยิ่งทำให้การนอนหลับไม่มีประสิทธิภาพหนักไปกว่าเดิม เพิ่มเติมคือ ส่งผลให้นาฬิกาชีวิตรวนอีกด้วย วิธีปลดหนี้การนอนหลับที่ให้ผลดีต่อร่างกายอย่างยั่งยืน แค่ค่อยๆ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ด้วยการลองทำตามเทคนิค 4 ข้อ ต่อไปนี้ 🧊ทบทวนตารางชีวิต ระบุเวลาชีวิตตัวเองให้ชัดเจนว่า ในแต่ละวันตื่นกี่โมง ไปทำงานกี่โมง ทำงานเสร็จกี่โมง กินข้าวเย็น อาบน้ำ และเข้านอนตอนกี่โมง เพื่อที่จะได้รู้ว่าปกติคุณนอนวันละกี่ชั่วโมง และจะสามารถปรับกิจวัตรช่วงไหนให้สามารถเพิ่มเวลานอนหลับคุณภาพให้ได้ 7-8 ชั่วโมงต่อวันบ้าง 🧊เพิ่มเวลานอนวันละ 30 นาที นาน 2 สัปดาห์ สำหรับคนที่มักใช้เวลานอนตื่นสายในวันหยุดนานกว่าวันธรรมดา 2-3 ชั่วโมง ให้ค่อยๆ ปรับทดเวลาวันละ 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมงในการเข้านอนวันธรรมดาให้เร็วขึ้น เพื่อลดความแปรปรวนนั้นลง และทำอย่างต่อเนื่องนาน 2 สัปดาห์ เช่น เดิมเข้านอนในวันธรรมดาตอนเที่ยงคืน ก็ให้เข้านอนเร็วขึ้นสักครึ่งชั่วโมง เพื่อเป็นการทยอยผ่อนชำระหนี้การนอนหลับให้ร่างกายค่อยๆ ปรับเวลานอนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 🧊ตื่น ‘ชั่วคราว’ ทุกวันหยุดในเวลาเดียวกับวันธรรมดา ต่อให้อยากตื่นสายในวันเสาร์อาทิตย์แค่ไหน แต่จะดีกว่านั้นถ้าพยายามตื่นเวลาเดียวกับวันธรรมดาให้ได้ โดยลุกขึ้นเปิดม่านรับแสง กินข้าวเช้า ทำกิจวัตรเบาๆ ตามปกติ แล้วสามารถงีบหลับระหว่างวันได้ เพื่อเสริมการนอนชดเชย ซึ่งควรงีบก่อนบ่าย 3 โมงและไม่เกิน 2 ชั่วโมง 🧊หมั่นโดนแดดระหว่างวัน แสงแดดจะช่วยให้ร่างกายหลั่งฮอร์โมนเมลาโทนิน ซึ่งจะช่วยให้นอนหลับได้ดีในตอนกลางคืน ดังนั้น ทุกคนจึงควรหาโอกาสอยู่กลางแสงแดดทุกวัน ไม่ว่าจะเป็นวันทำงานหรือวันหยุด เช่น ในวันทำงานควรเดินออกไปกินข้าวกลางวันนอกอาคาร วันหยุดก็หาโอกาสทำสวนเบาๆ กลางแจ้ง หรือออกไปเที่ยวตากแดดเสียบ้าง

  • @nunamimii7582

    @nunamimii7582

    Жыл бұрын

    ขอบคุณน่ะค่ะ หนูอายุเเค่ 21 ปี ช่วงนี้นอนดึกมาก เเต่ต้องตื่นเช้าทุกวัน รู้สึกมึนงงมากค่ะ เป็นช่วงที่เรียนด้วย บางครั้งเรียนไม่รู้เรื่องด้วยไม่รู้ว่าสาเหตุมาจากการนอนรึเปล่า ที่นอนไม่เพียงพอ กลางคืนมักไถ่โทรศัพท์จนเพลินดูนู่ที่ดูนั่นที่กว่าจะนอนก็เกือบเที่ยงคืนค่ะ

  • @user-ev8ov6lh5o

    @user-ev8ov6lh5o

    Жыл бұрын

    จริงครับ ดีนะผมบวชแล้วชดใช้หนี้การนอนไปได้เยอะ

  • @sarimasundhrarajun4911
    @sarimasundhrarajun4911 Жыл бұрын

    ทุกวันนีจะนอนตีสามทุกวัน-อายุเข้า

  • @khuanchitsaichan4576
    @khuanchitsaichan4576 Жыл бұрын

    ฟังอาจารย์หมอแล้ว ไม่มีคำถามเลยค่ะ นอกจากต้องเปลี่ยนพฤติกรรมการนอนด่วน ๆ เลยค่ะ #ปัจจุบันนอนน้อยมาก เพราะถือหลักว่าถ้ายังทำงานได้ ก็คิดว่าเราไหว หรืออาศัยงีบกลางวันบ้าง หารู้ไม่ว่าอันตรายต่อสุขภาพมาก🙄#ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ🥰

  • @radda2243
    @radda2243 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆค่ะคุณหมอ

  • @user-is2np3re4e
    @user-is2np3re4e Жыл бұрын

    นี่ละครับถึงเรียกว่าช่องคุณภาพเอางานวิจัยมาอธิบายให้ชาวบ้านได้รู้ สำหรับคนที่เข้าถึงข้อมูลไม่ได้ ไม่เหมือนพวกอวดรู้โดยใช้อัตตาตัวเองเป็นข้ออ้างอิงแล้วดูถูกคนอื่นที่คิดไม่เหมือนตัวเค้าเองว่าโง่ จากนั้นก็คิดว่าข้าคือผู้มีปัญญาแต่ไม่มีหลักฐานอะไรสักอย่าง

  • @Piny_Designer
    @Piny_Designer8 ай бұрын

    โอ้ !! แบบนี้นี่เอง งานวิจัยนี้ดีมาก ๆ เลยค่ะ concept นี้ ก็ดีมาก ๆ เลย แสดงว่า "การตื่นนานเกินไป ส่งผลเสียต่อสมองและสมาธิ (เพราะมัน=productivities)"👍👍เพิ่งเข้าใจก็วันนี้ 😃ขอบคุณค่ะ🙏

  • @nuchzara97
    @nuchzara97 Жыл бұрын

    เป็นสาระที่สุดใน last 14 days เลยค่ะ ขอบคุณค่ะ

  • @user-kw3er3vo1d
    @user-kw3er3vo1d Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ❤

  • @Hoshi1451
    @Hoshi1451 Жыл бұрын

    ☺️ขอบคุณอจ.หมอมากค่ะ🙏

  • @nung-noppapat
    @nung-noppapat Жыл бұрын

    ขอบคุณ​ค่ะ​อาจารย์​🙏🥰

  • @channaga
    @channaga Жыл бұрын

    ข้อมูลมีประโยชน์มาก ขอบคุณครับ

  • @user-nl3do1vr2n
    @user-nl3do1vr2n Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะอาจารย์หมอ ขอบพระคุณมากค่ะ🙏

  • @supaveethana4984
    @supaveethana4984 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับคุณหมอฯ อายุน่าจะเป็นปัจจัยสำคัญครับ

  • @arksmakeup1856
    @arksmakeup1856 Жыл бұрын

    ขอบคุณนะคะ คลิปมีประโยชน์มากๆเลยค่ะ

  • @bigchadryans230
    @bigchadryans230 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับ อาจารย์

  • @tumzthedog9309
    @tumzthedog9309 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับอาจารย์♥

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa Жыл бұрын

    คลิปใหม่มาแล้วค่ะ... วันนี้เรื่อง... คนเราจะฝึกให้นอนน้อยได้หรือไม่ นอนน้อยแต่ไม่ง่วง มีผลเสียอะไรหรือเปล่า ◾นอนน้อย แต่นอนนะ... วลีนี้หลายท่านพูดกันบ่อย แต่จริงๆมันโอเคหรือไม่ ◾มีงานวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ซึ่งทำมาตั้งแต่ปี 2003 ซึ่งถือว่าเป็นงานวิจัยที่ดีมากๆมาอธิบายให้ฟังด้วยค่ะ ◾สิ่งที่เราจะเสียไปกับการนอนน้อย อันดับที่ 1 คือ การมีสติจดจ่อไม่ดีพอ อาจจะเกิดอุบัติเหตุได้ อันดับที่ 2 คือ ความจำ อันดับที่ 3 คือ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ ซึ่งจะต้องใช้การบังคับตัวเองให้มากกว่าคนทั่วไปจึงจะมีสมาธิ ความจำ และคิด วิเคราะห์ได้ ◾ดังนั้น การนอนน้อย สำหรับคนที่ทำงานบางประเภทที่ต้องใช้สมาธิ ความจำ การคิดวิเคราะห์ เช่น นักวิเคราะห์โปรแกรม นักวิเคราะห์ข้อมูล นักวิจัย ฯลฯ ◾เรื่องการติดหนี้การนอน คือ นอนไม่พอ แล้วจะชดเชยด้วยการนอนในช่วงวันหยุด จริงๆแล้วไม่สามารถแก้ปัญหาการนอนน้อยที่ผ่านมาได้ในครั้งเดียว เพราะต้องใช้เวลานานพอสมควรกว่าระบบของร่างกายทั้งหมดจะกลับมาเป็นปกติ ยกตัวอย่างเช่น นอนไม่พอ 1 วัน จะต้องใช้เวลา 4-7 วันกว่าจะร่างกายจะปรับตัวเข้าที่เข้าทาง กล่าวคือ ระบบสมองในเรื่องสมาธิ ความจำ การคิดวิเคราห์ต่างๆจะเข้าสู่ภาวะปกติ ◾การติดหนี้การนอน ไม่ได้เป็นปัญหาอะไรมาก แต่ปัญหาทางสมองต่างๆที่เกิดขึ้น พบว่า เกิดขึ้นเนื่องจากการที่เรา "ตื่นนานจนเกินไป" ยิ่งตื่นอยู่นาน ไม่ได้พักผ่อนเลย แถมยังรู้สึกว่า ไม่ง่วง ตรงนี้แหละที่จะเกิดปัญหาต่างๆเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ◾การที่เราไม่ได้นอนติดต่อกันเป็นเวลานานๆ ทำให้เกิดสารชนิดหนึ่งเพิ่มมากขึ้นในร่างกาย นั่นคือ สารอะดีโนซีน (Adenosine) หรือ สารที่ทำให้ง่วง ซึ่งสารนี้จะถูกกำจัดไปได้ด้วยการนอนหลับเท่านั้น ย้ำว่า การดื่มกาแฟไม่ได้ช่วยให้สารนี้หมดไป แค่กระตุ้นให้ร่างกายตื่นตัว ◾และอาจจะเคยมีเคสของคนที่ผิดปกติ ที่ไม่สามารถนอนหลับได้เลย ซึ่งเขาอาจจะมีความผิดปกติเรื่อง ตัวรับสารอะดีโนซีน ที่ไม่สามารถรับรู้ความง่วงได้ หรือ อาจจะมีกลไกพิเศษในร่างกายที่สามารถกำจัดของเสียในสมองออกไปได้

  • @kanyamuay3748

    @kanyamuay3748

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากค่ะน้องทริป สำหรับการสรุปข้อมูลไว้อย่างละเอียด

  • @radda2243

    @radda2243

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆค่ะเป็นคนนอนน้อยแต่นอนนะจริงๆค่ะหลับๆตื่นๆตลอดไม่เคยหลับยาวเลยไม่รู้ว่าการนอนหลับยาวๆจะดีอย่างรัยข้อสรุปชัดเจนเข้าใจเลยค่ะขอให้เจริญๆค่ะ

  • @FragranzaTrippa

    @FragranzaTrippa

    Жыл бұрын

    @@kanyamuay3748 ยินดีค่ะพี่หมวย... ขออนุญาตสรุปพอสังเขปค่ะ

  • @FragranzaTrippa

    @FragranzaTrippa

    Жыл бұрын

    @@radda2243 ยินดีค่ะ อยากแนะนำให้ไปตรวจการนอนหลับนะคะว่า มีการหยุดหายใจในขณะหลับหรือไม่

  • @suchai5328

    @suchai5328

    Жыл бұрын

    @@FragranzaTrippaขอบคุณครับ❤❤❤

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa Жыл бұрын

    🔵เรื่องราวของ Al Herpin... Al Herpin (1862-1947) เป็นชายชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียงจากการอ้างว่า มีภาวะทางพันธุกรรมที่หายากมาก ซึ่งทำให้เขาสามารถตื่นได้เรื่อยๆ โดยไม่รู้สึกเหนื่อยหรือ ต้องการการนอนหลับ เขาจึงถูกขนานนามว่า "ชายผู้ไม่เคยหลับใหล" Al Herpin ทำงานเป็นผู้ควบคุมรางรถรางในรัฐนิวเจอร์ซีย์เป็นเวลาหลายปี และในช่วงเวลานี้เองที่เขาเริ่มดึงดูดความสนใจจากความสามารถในการตื่นตัวเป็นระยะเวลานาน เขาอ้างว่า เขานอนแค่ 1-2 ชั่วโมงต่อคืนเป็นเวลาหลายปี และเขารู้สึกตื่นตัวและมีพลังอยู่ตลอดเวลา แม้ว่าเขาจะอ้างว่า เขานอนน้อยแต่แข็งแรงดี แต่ในที่สุด Herpin ก็ป่วยและเสียชีวิตในปี 1947 ขณะอายุ 85 ปี เรื่องราวของเขายังคงเป็นที่สนใจสำหรับผู้ที่สนใจในสภาวะทางการแพทย์ที่ผิดปกติ และความสามารถแปลกๆของมนุษย์

  • @kanyamuay3748

    @kanyamuay3748

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากค่ะน้องทริป สำหรับข้อมูลที่น่าสนใจ

  • @PlumeSkoii

    @PlumeSkoii

    Жыл бұрын

    เสียชีวิตตอนอายุ 85 นี่คุณเค้าอยู่นานกว่าคนที่นอนปกติอีกอ่ะ 😂

  • @FragranzaTrippa

    @FragranzaTrippa

    Жыл бұрын

    @@kanyamuay3748 ยินดีค่ะพี่หมวย...

  • @FragranzaTrippa

    @FragranzaTrippa

    Жыл бұрын

    @@PlumeSkoii นั่นซิคะ😅

  • @radda2243

    @radda2243

    Жыл бұрын

    นอนน้อยแต่อายุยืนขอเป็นแบบเขามั่งก็ดีนะคะอิอิ

  • @user-xq7nq1bv2c
    @user-xq7nq1bv2c Жыл бұрын

    เหมือนฟังเลคเชอร์เลยค่ะ. ได้ความรู้มากเลยค่ะฟังเข้าใจง่าย ขอบคุณมากค่ะ ขอให้คุณหมอสุขภาพแข็งแรงค่ะ

  • @ponphansukasem907
    @ponphansukasem907 Жыл бұрын

    ขอบพระคุณคุณหมอมากๆ ค่ะ เป็นประโยชน์มากๆเลยค่ะ 🙏🙏

  • @NanNan-hd4qf
    @NanNan-hd4qf Жыл бұрын

    คุณหมอพูดตรงเป๊ะเลยค่ะ

  • @SFung-hv2ov
    @SFung-hv2ov Жыл бұрын

    ข้อมูลดีมากๆค่ะ ขอบคุณคุณหมอแทนที่มาอธิบาย เป็นประโยชน์มากค่ะ

  • @user-ww6hc5ye2u
    @user-ww6hc5ye2u Жыл бұрын

    ขอบพระคุณ คุณหมอมากค่ะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรง มีความสุขความเจริญนะคะ

  • @Smusics4AAnnElizabeth
    @Smusics4AAnnElizabeth Жыл бұрын

    ฟังแล้วดีค่ะ แต่คนเราอยู่ได้เพราะการฝึกฝนตนเองค่ะ

  • @user-mr8fp6lo6g
    @user-mr8fp6lo6g Жыл бұрын

    สวัสดีเจ้าคุณหมอใด้รับความรู้ทุกวันเจ้า ขอบคุณเจ้า💖💖💖

  • @user-ob1go5jw8h
    @user-ob1go5jw8h Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ

  • @tanawanvoravettayagon9897
    @tanawanvoravettayagon9897 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากคะคุณหมอ ชอบการนำเสนอแบบนี้มากเลยคะ เข้าใจในเนื้อหาจากการทดสอบที่วัดผลได้คะ

  • @bugbo6003
    @bugbo6003 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับคุณหมอ เป็นคลิปที่มีประโยชน์มากๆกับทุกคนเลยครับ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพที่ดีครับ

  • @phantiratantod6975
    @phantiratantod6975 Жыл бұрын

    ดีมากเลยค่ะ ขอบคุณ คุณหมอที่สละเวลามาให้ความรู้เสมอเลยค่ะ

  • @SSS00180
    @SSS00180 Жыл бұрын

    ขอบคุณคุณหมอมากค่ะ .. ที่อธิบายงานวิจัยละเอียดมาก .. ขอคอนเฟิร์มว่าผลของงานวิจัย ตรงกับชีวิตดิฉันทุกอย่างค่ะ .. ดูแลสุขภาพกันนะคะทุกท่าน

  • @patrick796
    @patrick796 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับ❤

  • @user-sk7wd5nd4j
    @user-sk7wd5nd4j Жыл бұрын

    ขอบคุณนะคะจะมาปรับตัวเองให้ม่คะ

  • @yo-wet
    @yo-wet Жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆนะครับคุณหมอ มีเรื่องราวดีๆ มานำเสนอและล้วนแต่มีสาระและประโยชน์มากๆครับ ❤️🙏❤️🙏❤️🙏 ขออนุญาตแชร์นะครับ 🙏🙏🙏

  • @kodchaphanalbright3112
    @kodchaphanalbright3112 Жыл бұрын

    เราเป็นคนนอนหลับได้ดีมากๆแบบว่า 8 ชม.รวดแบบไม่ตื่นเลย หลับยาวตลอดคืน เพราะยานอนที่ดีที่สุดของเราคือกาออกกำลังกาย ยิ่งออกกำลังกายเหนื่อยเท่าไหร่ยิ่งหลับได้นานเท่านั้น แต่ถ้าวันไหนไม่ออกกำลังกายคือจะนอนหลับๆตื่นๆ ซึ่งเราไม่ชอบเอามากๆ การได้นอนหลับยาวติดต่อกันนานเกิน8 ชม.มันเหมือนร่างกายได้ซ่อมแซมทุกอย่างอย่างสมบูรณ์ อย่างเช่นจากที่ร่างกายรู้สึกปวดเมื่อย ก็จะตื่นมาอย่างสดใสไม่รู้สึกใดๆจากการออกกำลังมาอย่างหนัก ดิฉันออกกำลังกาย5ครั้งต่อสัปดาห์ครั้งละ2-3ชม.เป็นประจำคะ

  • @user-ih5ye2ed1o
    @user-ih5ye2ed1o Жыл бұрын

    ขอบคุณอาจารย์นะคะ คลิปนี้เหมือนฟังอาจารย์เลคเชอร์เลยค่ะ🙏 แถมได้วิธีอ่านหนังสือ/ไฮไลต์สรุปอีกด้วย❤

  • @pang711
    @pang711 Жыл бұрын

    ชอบคลิปนี้มากค่ะ นอกจากคุณหมอจะให้ความรู้เรื่องการนอนแล้ว ยังสอนวิธีดูและอ่านงานวิจัยที่ดีให้ด้วย ขอบคุณคุณหมอมากนะคะ เราควรใส่ใจในการนอนหลับของเราจริงๆค่ะ ❤ 😴

  • @sirimanarongtham3437
    @sirimanarongtham3437 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆๆค่ะอาจารย์หมอ สำหรับข่าวสารดีดีได้ความรู้มีประโยชน์ดีมากเลยค่ะ❤❤🎉🎉🎉

  • @suriyawong75
    @suriyawong75 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณนะคะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปคร๊😊😍😍

  • @ALL86898
    @ALL86898 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะมาฟังแล้วค่ะ ผ่านมานานยังใช้ได้ดีในความรู้การนอนหลับ เราต้องนอนให้หลับแบบมีคุณภาพ มาฟังงานวิจัย กันค่ะ

  • @khemw.9510
    @khemw.9510 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @tarungtiwa2710
    @tarungtiwa2710 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ชอบคุณมากๆคะวันนี้มาอ่านงานวิจัยเรื่องคนเราฝึกให้นอนน้อยได้หรือไม่ นอนน้อยแต่ไม่ง่วง มีผลเสียอะไรบ้าง ได้ความรู้มากคะมีประโยชน์มากคะ.👍 ตาขอให้คุณหมอมีความสุข สุขภาพแข็งแรงและปลอดภัยนะคะ.🙏🇹🇭😷❤️🌹

  • @p.p9856
    @p.p9856 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับ

  • @seariousful
    @seariousful Жыл бұрын

    คุณหมอครับ ผมอยากให้ทำคลิปอ่านการวิจัยเกียวกับการนอนไม่เป็นเวลาครับ อยากเอาไปเสนอกับการปรับเวลาเข้ากะ เอาไปทำเป็นสไลด์ ว่าแต่ละคนควรมีเวลานอนประจำ เพราะมันจะส่งผลกับประสิทธิภาพการนอน แล้วประสิทธิภาพการนอนจะส่งผลต่อการตัดสินใจในการทำงานและและประสิทธิภาพในการทำงาน แต่ผมหางานวิจัยไม่เป็นและภาษาอังกฤษไม่แข็ง ทำให้ผมรู้สึกเข้าถึงงานวิจัยยากมาก ถ้าไม่ข้อมูลผมไม่มีความน่าเชื่อถือ คนข้างบนอาจจะไม่เชื่อ เพราะคนไม่อยู่หน้างานจริงๆ เขาจะไม่รู้เลยว่ามันเหนื่อยมากๆกับการปรับเวลานอนทุก2อาทิตย์ (งานผมเป็นงานเกียวกับการวิเคราะห์ อยู่มีคนอยู่หน้าจอตลอด 24 ชม. ครับ)

  • @realessence
    @realessence Жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆ ค่ะ อาจารย์ ชอบที่ได้เรียนรู้วิธีการพิจารณางานวิจัยว่าชิ้นไหนมีความน่าเชื่อถือจากระเบียบวิจัย ไม่ใช่แค่พูดถึงผลงานวิจัยอย่างเดียวแบบที่สื่อชอบนำเสนอค่ะ ส่วนตัวมีปัญหานอนไม่หลับมาเป็นปีแล้วจนชินและไม่ได้รู้สึกง่วง แต่ประสิทธิภาพของสมองลดลงอย่างที่งานวิจัยสรุปจริงๆ ค่ะ

  • @wanpenleohirun8153
    @wanpenleohirun8153 Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะ🙏

  • @nebnebnebneb6114
    @nebnebnebneb6114 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับพี่หมอ

  • @pandapa5316
    @pandapa5316 Жыл бұрын

    พี่ชอบนอนดึกเก็บโค้ดบ่อยๆ ทั้ง double digit, mid month, payday รวม ๆ แล้วเดือนละ 7-8 วัน เวลากลางวันสมาธิเสียเลยค่ะ พูดผิดพูดถูก หลง ๆ ลืม ๆ บ่อย เดือนหลังมานี้ไม่นอนดึกแล้วค่ะ ยอมไม่กดโค้ด พอฟังคลิปหมอแล้วมันเป๊ะมาก ๆ เลยค่ะ

  • @phit5156
    @phit5156 Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะ ได้รับความรู้ที่มีประโยชน์มากๆค่ะ เเละอยากให้คุณหมออธิบายเรื่อง การนอนหลับยาก ในผู้สูงอายุที่พยายามนอนเเล้วเเต่นอนไม่หลับ จึงต้องกินยานอนหลับอย่างอ่อนมา มาสักระยะหนึ่งเเล้ว อยากทราบว่าจะมีวิธีอื่นที่ช่วยให้นอนหลับง่ายขึ้นไหมคะ รวมถึง การรับประทานที่ช้วยให้หลับคะ

  • @tassaneechuenprasertsuk1370
    @tassaneechuenprasertsuk1370 Жыл бұрын

    🙏ขอบคุณค่ะคุณหมอแทน ได้ฟังคลิปนี้แล้ว รู้ว่าตัวเองใช้ชีวิตแย่มากไม่มีวินัย ในการนอน การออกกำลังกายอย่างมาก คุณหมอได้เตือนสติ ทำให้"ฉันต้องทำให้ได้ละนะ " ทุกอย่างที่เกิดขึ้นมีหมดเลยและแถมจากวัย64 ร่างกายแย่ลงอ่อนเพลียง่าย นน.ลด ลืมง่าย ภูมิแพ้กำเริบ ขอบคุณคุณหมอมากๆเลยค่ะ รักและนับถือคุณหมอ มากค่ะ🥰🥰

  • @PostAloneYoutube
    @PostAloneYoutube Жыл бұрын

    ดีมากคับ ผมหาข้อมูลจากการนอนมาหลายๆแหล่ง สุดท้ายมนุษย์ต้องนอนวันล่ะ8ชั่วโมง เท่านั้นคับ!!!!

  • @tatongt
    @tatongt Жыл бұрын

    ขอบคุณที่คุณหมอมาแชร์ให้ฟังค่ะ เพราะตัวเองเป็นคนนอนน้อยจนเป็นประจำค่ะ

  • @user-sx9iy4tw9u

    @user-sx9iy4tw9u

    Жыл бұрын

    อยากให้คุณหมอดำเนินรายการอย่างนี้นานๆ

  • @ptphone2301
    @ptphone2301 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะอาจารย์หมอ ดิฉันขอขอบพระคุณอาจารย์หมอเป็นอย่างสูงค่ะที่ให้ความรู้ จากงานวิจัยเรื่องการนอนหลับ นอนน้อยจนชินไม่รู้สึกง่วงไม่ว่าสาเหตุอะไรก็ตามไม่ดีต่อให้เป็นคนที่แข็งแรงก็มีปัญหาๆที่พบมากที่สุดคือสมาธิ สติของเรารองลงมาคือปัญหาความทรงจำ และสุดท้ายคือการคิดวิเคราะห์จะเสียไป Sleep debt เป็นหนี้การนอนหลับคือนอนน้อยกว่า8.16ชั่วโมง/วันไม่สามารถแก้ได้ด้วยการนอนหลับเพียงครั้งเดียวต่อให้นอนนานๆก็ไม่ได้แปลว่าระบบของเราจะเข้าที่ปกติต้องใช้เวลานานกว่าจะเข้าที่ได้ การที่ไม่ได้นอนนานๆทาง การแพทย์มันสามารถสร้างสารบางอย่างที่ทำให้มีผลต่อสมองได้เช่นสาร Adenosineมันมีมากในสมองการกินกาแฟทำให้เราตื่นตัวแต่มันไม่ได้ทำให้หน้าที่ของสมองหายไปไหนสารต่างๆในสมองสามารถขจัดได้ด้วยการนอนหลับเท่านั้นการตื่นตัวตลอดเวลาไม่สามารถขจัดสารพวกนี้ได้ ดิฉันคงจะนอนน้อยเวลาทำงานจะไม่รู้สึกง่วงหรือเหนื่อยค่ะแต่พอทุกอย่างเรียบร้อยมันมาเลยค่ะทั้งง่วงและเหนื่อยค่ะ

  • @user-jv9yp8yo9x
    @user-jv9yp8yo9x4 ай бұрын

    🎀✨ขอบพระคุณมากค่ะ🙏 🎀✨เป็นข้อมูลและความรู้ที่ 🎀✨ดีมากๆน่าสนใจมากค่ะ ❤❤❤❤❤❤❤❤❤👍👍👍👍👍👍👍👍👍@✨20.00น วันเสาร์ที่2/3/2024🐈🐇🐈🐇🐈

  • @dorkygames
    @dorkygames Жыл бұрын

    ชอบคลิปอ่านงานวิจัยมากครับ

  • @ilovebayern134
    @ilovebayern134 Жыл бұрын

    ดีมากๆ content ทองคำ

  • @NamtarnSmile
    @NamtarnSmile Жыл бұрын

    งานวิจัยนี้ดีและมีประโยชน์มากเลยค่ะ โดยเฉพาะกับคนที่นอนน้อยๆเป็นระยะเวลานานๆจนเป็นเรื่องปกติ ทำให้เราตระหนักมากขึ้นว่าการนอนไม่เพียงพอจะเกิดปัญหาอะไรขึ้นบ้าง อาจเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับเราแล้วเราไม่รู้ตัวก็เป็นได้ค่ะ รู้แบบนี้แล้วต้องพยายามให้ตัวเองนอนให้เพียงพออย่างสม่ำเสมอมากขึ้นแล้วค่ะ 😊ต้องขอบคุณคุณหมอแทนมากๆนะคะที่เอาข้อมูลดีๆพวกนี้มาแบ่งปันค่ะ

  • @user-sn3ni3qq7s
    @user-sn3ni3qq7sАй бұрын

    ไม่ได้ครับอาจารย์หมอผม นอนน้อยมากๆ มีอาการเจ็บคอ เป็นท่อมซินอักเสบตลอด

  • @24992508
    @24992508 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับหมอ

  • @kanoky7076
    @kanoky7076 Жыл бұрын

    ขอบคุณนะคะ ส่วนตัวจะเป็นคนนอนดึกโดยนิสัยคะ ส่วนมากจะนอน 5-6 ชม รึบางครั้งก้ 4 ชม คะ ตื่นมาก้จะมีมึนๆหัวอยู่คะ เคยมีน้องที่ทำงานด้วยกันอายุ 30ต้นๆดูซีรีส์เกาหลีถึงตี4แล้วตอนเช้าต้องไปทำงานก้ยังเห็นเค้าทำงานไหวอยู่คะ แต่ตอนนี้น้องเค้าเพิ่งลาออกไปแล้วเมื่อเดือนเมย.เพราะทำผลงานไม่ได้ตามเป้าตำแหน่งสุดท้ายคือรอง ผจก ฝ่ายขายผลิตภัณฑ์ 🙏

  • @Pa_Nu
    @Pa_Nu Жыл бұрын

    มีประโยชน์มากๆ เลยค่ะ ขอบพระคุณมากค่ะ 🙏🙏🙏👍❤️

  • @Euang-Mali
    @Euang-Mali Жыл бұрын

    😊🌼🍃 ขอบคุณมากนะคะ ส่วนตัวถ้าเมื่อไหร่นอนน้อยจะมีอาการบ้านหมุนเลยค่ะ🙏

  • @boomsong5729

    @boomsong5729

    Жыл бұрын

    @ เอื้องมะลิ พักผ่อนมากๆนะคะคุณครู รักษาสุขภาพด้วยค่ะ ⚘❤⚘ @ Doctor Tany ขอบคุณมากค่ะคุณหมอแทน 🌻🧡🌻

  • @Euang-Mali

    @Euang-Mali

    Жыл бұрын

    @@boomsong5729 😊💖 ขอบคุณมากนะคะ พักผ่อนอย่างมีความสุข นะคะ

  • @KruGung
    @KruGung Жыл бұрын

    อยากนอนหลับ​ง่ายมากกว่าค่ะ เป็นปัญหา​มากๆค่ะ วัยทองแล้วมั้งค่ะพยายามแต่ไม่หลับค่ะ ต้องไปหาหมอรับยามาทาน อยากให้คุณ​หมอ ทำคลิปปัญหา​การนอนไม่หลับระยะยาว 🌷🙏

  • @greycadillac5213
    @greycadillac5213 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะอาจารย์ จะพอเป็นไปได้มั้ยคะถ้าอยากให้ทำคลิปเกี่ยวกับการเริ่มอ่าน journal ค่ะ อยากรู้ว่าประสบการณ์การอ่าน journal ของอาจารย์ครั้งแรกเริ่มจากอะไร อะไรเป็นแรงบันดาลใจให้เริ่มอ่าน มีวิธีการหาเปเปอร์ยังไง แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าเปเปอร์ที่อ่านเป็นเปเปอร์ที่ดี เพื่อเป็นแนวทางสำหรับมือใหม่ค่ะ ด้วยความเคารพและชื่นชมในการวิเคราะห์เปเปอร์ของอาจารย์เป็นอย่างสูงค่ะ ปล. ถ้าอาจารย์เคยทำคลิปประมาณนี้แล้วต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ

  • @ALL86898
    @ALL86898 Жыл бұрын

    คุณหมอคะ พออดนอน เล่าตอนที่ทำงานค่ะคือจำเป็นต้องทำงานให้เสร็จอยู่ดึกถึงเที่ยงคืน อย่างเร็วก็ห้าทุ่มตัวเองตื่นตีสี่ตีห้า ทุกวันทำยาวต่อเนื่องหลายช.ม คนอื่นเค้าไม่เห็นเป็นไร ตัวเองขึ้นรถไฟฟ้ากลับสลบค่ะคือหลับจนเลยสถานีที่ลงเป็นประจำถึงปลายทางจตุจักรแล้วยังไม่รู้สึกตัวพนักงานต้องมาเรียก😆😆อันนี้ตอนนั้นร่างกายให้ใช้หนี้อย่างเร็วใช่ไหมคะ คือติดหนี้นอนมีพอมีเวลาร่างกายบังคับให้นอนเลยเข้าใจอย่างนี้ถูกต้องไหมคะ หรือเป็นโรคอะไรคะคุณหมอ ขอบคุณมากค่ะ🙏

  • @soontareesoontaree6725
    @soontareesoontaree6725 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะ คุณหมอคะ "เป็นหนี้" การนอนหลับแล้วค่ะ 😴😴😴

  • @paraneeplanantakuntorn
    @paraneeplanantakuntorn Жыл бұрын

    หมอคะ งานวิจัยที่คุณหมอแปะ link มาให้นี่ 'ยิบ' มากเลย พยายามอ่านมาสามวันวันละนิดหน่อย สลับๆใน routine ของเรา ก็เลยอ่านได้ rateเต่ามากเลย งานวิจัยเขามีลวดลายละเอียดละออ อ่านอย่างเรามันไม่ได้เชี่ยวชาญเท่าแพทย์อ่าน เราข้าม abstract ไปเลย สิ่งเดียวที่สงสัยคือนับเวลานอนเป็น bed time อยู่บนเตียงลืมตาโพรงหรือหลับสนิทก็อยู่บนเตียงเป็นพอ มันเหมือนกันหรือเปล่าเราไม่รู้ แต่ trend จากกราฟนั่นชัดเจนแฮะ อ่านต่อไปเรื่อยๆไหนๆก็ไหนๆแล้ว

  • @Phanita999
    @Phanita999 Жыл бұрын

    ส่วนตัว คิดว่าตัวเองเป็นคนหลับง่ายค่ะ แต่ไปหาหมอทีไร หมอก็จะให้ยาคลายเครียด ให้หลับ ก็จะไม่กินเลย แต่เป็นคน นอนหลับๆ ตื่นๆ เวลากินยาที่หมอให้ แล้วบางทีหลับยาว จนสาย ทำไรไม่ทันเลยไม่ค่อยชอบค่ะ แต่ปลายปีที่แล้ว ย้ายบ้าน ขนของ, ไปตจว ติดๆ กันเป็น 10 วัน มีอยู่วัน บ้านหมุนแต่ 8 โมงเช้าต้อง นอนคว่ำหน้า จน ตี 3 อีกวันถึงจะดีขึ้นค่ะ น่ากลัวมากวันนั้น มันโฟกัสอะไรไม่ได้เลยค่ะ ขอบคุณมากค่ะ อาจารย์

  • @user-uf9hw8dn7o
    @user-uf9hw8dn7o Жыл бұрын

    สวัสค่ะคุณหมอ

  • @EedWatcharapornTubrutn
    @EedWatcharapornTubrutn Жыл бұрын

    ใช่เลยค่ะ เรื่อง Sleep debt ร่างกายของตัวเอง ตามเก็บหนี้อัตโนมัติ ทันทีเลยค่ะ แค่ตื่นผิดเวลา ยังตามเก็บหนี้ + ดอกเบี้ยด้วยค่ะ ส่วนใหญ่ก็จะยอมทำตาม ความต้องการ ของร่างกาย 8-10 ชั่วโมง ต่อวัน เลยค่ะ 😆😁😴😴

  • @himawari8390
    @himawari8390 Жыл бұрын

    คุณหมอtany สวัสดีครับ ผมอยากรบกวนคุณหมอพูดเรื่องของคุณbryan johnson ที่เขารักษาอายุเขาให้ยืนยาวครับ อยากฟังทัศนคติของคุณหมอ

  • @patitazeepongsekul3967
    @patitazeepongsekul3967 Жыл бұрын

    Thanks Dr.Tany , so what you suggest person whose age over 70 should sleep how many hours in a day?

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    7 or as dictated by the body to not feel tired during the day.

  • @nuinui5451
    @nuinui54516 ай бұрын

    ขอแบ่งปันเรื่องการนอนน้อยคะ. ตั้งแต่อายุประมาณ 40ขึ้น. ตอนนี้ 67 เกิดจากชอบอ่านหนังสือ. ชอบบันทึกสิ่งดีๆไว้. ทำให้ค่อยๆนอนน้อยลง เมื่อไปทำงานก็ปกติเพราะอยู่กับตัวเลข ตัวเงิน. แต่ที่ทำอย่างนี้ไม่ได้ตั้งใจทำ. จะค่อยๆเป็นเอง. การนอนลดลงจนคงที่. กลางวันจะไม่ง่วงด้วย. แต่หากวันหยุดก็นอน/ตื่นแบบนี้เหมือนกัน. แต่ชอบไปว่ายน้ำมากได้รับแดดตลอดประมาณ 4-5 ชม.ทำอย่างนี้หลายปีจนร่างกายชิน. เคยทดลองนอนกลางวันแค่1-2 ชม.ตื่นมาปวดหัวมากๆจนต้องกินยา. เลยชิน กับการไม่นอนกลางวัน. ร่างกาย ไม่ได้ต้องปรับเพราะเกิดจากธรรมชาติ ที่นิสัยการอ่านก่อน. ไม่ใช่การฝึกฝน. ก็เลยสบายๆคะ. แจ้งไว้สำหรับคนที่ตั้งใจทำ ให้ร่างกายพักน้อยแบบฝืนไม่น่าจะทำคะ. เพราะเกี่ยวกับอาหารการกินจากที่บ้านทำหลากหลายไม่เน้นเนื้อสัตว์ล้วนๆ. แต่มีปลาทุกวันช่วงวันหยุด. เรามีบำรุงทุกวันหยุดหลานทุกคนต้องยืนเข้าแถวกินคนละช้อน คาวมาก. ช่วงหลังเห็นมีเป็นแบบแคปซูล วิถีชีวิตแต่ละบ้านม่กกว่าการฝืนคะ

  • @nuinui5451

    @nuinui5451

    6 ай бұрын

    โทษตกเรื่องยาบำรุง คือน้ำมันตับปลา

  • @user-fs2ij3ev4c
    @user-fs2ij3ev4c11 ай бұрын

    อ.ต้อยบอกว่าชอบฟังอ.แทนจากยูทูปอเมริกาฟังมานานแล้ว และบอกอ.แทนจบจากจุฬาและมาใช้ทุน ร.พ สมเด็จณ.ศรีราชา

  • @raksaswallow2563
    @raksaswallow2563 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะคุณหมอ

  • @forestry.p
    @forestry.p Жыл бұрын

    ดีใจที่ได้เห็นคลิปรีวิวงานวิจัยค่ะ ได้แชร์ให้ Ph.D. classmates ด้วยค่ะ :) ขอบคุณค่ะ

  • @natratrittisang9987
    @natratrittisang9987 Жыл бұрын

    นอน4-5ชม.มาตลอดเลยคะ.ไม่เป็นอะไรเลยค่ะ.ก็ปกติดีค่ะ.

  • @user-tw4vq5ip2y

    @user-tw4vq5ip2y

    Жыл бұрын

    ดื่มใช่ไหมครับ

  • @user-xh8bi5dr8r
    @user-xh8bi5dr8r Жыл бұрын

    บางคนทนอดหลับไม่ได้ เผลอหลับในไป ยิ่งทำให้เกิดอันตรายในขณะทำงานครับ

  • @EnJoyDev555
    @EnJoyDev555 Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ เเล้วถ้านอนน้อย เนื่องด้วยมีภาระหน้าที่ บางวันเเค่ได้นอนก็ดีใจเเล้ว จะทำยังไงดีคะ

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    ตามนี้ครับ kzread.info/dash/bejne/c4ykmpqDlrWue84.html

  • @soontareesoontaree6725
    @soontareesoontaree67254 ай бұрын

    สวัสดีค่ะ นอนวันละ 6 ชม. ค่ะ นอน ตี 1 ตื่น 7-8 โมงเช้า จะตื่นตามเวลา ทุกวันค่ะ😊😊😊

  • @atomastroboyrx24862
    @atomastroboyrx24862 Жыл бұрын

    เคยเปนค่ะทำงานเช้าบ่ายดึกต่อเช้าบ่ายแต่พอมีลูกแล้วหายเลยเพราะต้องนอนพร้อมลูก2คน(แม่เลี้ยงเดี่ยว)ลูกติดนอนบนท่อนแขนแม่ทั้งคู่แค่คิดจะกดโทรศัพท์ยังยาก555

  • @user-fs2ij3ev4c
    @user-fs2ij3ev4c11 ай бұрын

    เรานอนง่ายมากหัวถึงหมอนก็หลับนอน 23.00นหรือ24.00น ทุกวันเป็นแบบนั้นตลอดชีวิต เวลาตื่นก็ 05.30นหรือไม่เกิน06.30นไม่เคยนอนกลางวันนอกจากว่างทั้งวันก็นอนสัก1-2ช.มเท่านั้นไม่ง่วงแต่ไม่มีอะไรทำ

  • @user-ux5xu9lw8p
    @user-ux5xu9lw8p Жыл бұрын

    ต้องขอขอบคุณ คุณหมอมากค่ะ ที่คุณหมอกรุณาอธิบายงานวิจัยที่ดีนี้ได้อย่างละเอียด นับว่าการฟังครั้งนี้ได้คุณค่าและคุณประโยชน์เป็นอันมาก เนื่องจากตนเองเป็นโรคนอนไม่หลับมา 10 ปี ไปพบแพทย์ คุณหมอเธอให้กินยาคลายเคลียดวันละ 1 เม็ดก่อนนอน ต่อมาต้องเพิ่มเป็น 2 เม็ด เลยขออนุญาตไม่ทานยาต่อ เพราะคุณพ่อเพื่อนเป็นเหมือนกันเพิ่มยาขึ้นเรื่อยๆ จึงฝึกนั่งกรรมฐานที่วัด 7 วัน แล้วมานั่งต่อที่บ้าน เมื่อตาแจ้งไม่หลับจึงนั่งกรรมฐานแทน เพราะถึงอย่างไรก็ไม่หลับ จะนั่งไปตั้งแต่ตี 1 ถึงตี 5 รู้สึกว่าดิ่งและดับไปมารู้สึกตัวตอนประมาณตี 5 นอนพักต่ออีก 3 ชั่วโมง เพราะที่ทำงานอยู่ใกล้บ้าน แต่ผลเสียที่ได้รับคือจากคนที่มีรูปร่างดี เปลี่ยนเป็นรูปร่างไม่ดีเหมือนเดิมคืออ้วนขึ้น ขับรถกลับบ้านต้องนอนเพราะร่างกายต้องการนอน เคยทดลองไม่นอนแล้ว แต่กลางคืนก็นอนไม่หลับเหมือนเดิม สำหรับสติ การคิดวิเคราะห์ยังโอเคอยู่ค่ะ ความจำไม่ดีเท่าเดิมค่ะ สุขภาพก็พอใช้ได้ค่ะ แต่เดี๋ยวนี้เริ่มพยายามที่จะหลับแต่วัน ก็หลับได้ค่ะ คุณหมอทางด้านสมองเธอให้ค่อยๆ ขยับเวลาทีละนิด แล้วฟังคุณหมอด้วยคือให้ห้องนอนมืด และเรื่องอื่นๆ ที่คุณหมอแนะนำในยูทรูปมาทดลองใช้ เดี๋ยวนี้ตี 1 ก็หลับได้แล้วค่ะ เล่าเสียยาวเพื่อขอบคุณ คุณหมอในความมีจิตใจดี มีเมตตา น่ารัก เพราะหลายๆ สิ่งที่คุณหมอแนะนำดิฉันพยายามนำมาใช้เกือบหมด หวังว่าประสบการณ์ตรงที่เล่ามานี้คงมีประโยชน์ไม่มากก็น้อยสำหรับคนเป็นโรคนอนไม่หลับนะคะ หรืออาจไม่มีประโยชน์เลยในทางการแพทย์แค่อยากเล่า คงต้องใช้หนี้การนอนหลับอีกมาก ต้องขอขอบคุณ คุณหมอมากๆ ค่ะ

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    ลองฟังคลิปเรื่องเกี่ยวข้องกับการนอนไม่หลับที่ผมเล่าดูครับ kzread.info/dash/bejne/in-mq9qyg7TRpKw.html

  • @user-tw4vq5ip2y

    @user-tw4vq5ip2y

    Жыл бұрын

    อาจมีผลต่อประสาทตาและหูครับ

  • @wiriwiriya-36
    @wiriwiriya-36 Жыл бұрын

    เหมือนคนอายุมากๆ..จะมีปัญหาด้านการนอนหลับนะคะ ..พอสะดุ้งตื่นก็หลับต่อไม่ได้อีก^^

  • @johanlofilelo5359
    @johanlofilelo5359 Жыл бұрын

    เนื้อหาน่าสนใจ

  • @user-wq6jb3zb1j
    @user-wq6jb3zb1j Жыл бұрын

    แปลกครับ เข้าห้องน้ำตอนดึกๆ ๆ หลังจากนั่นไม่หลับครับ ปล่อยไปตามธรรมชาติครับ มาหลับตอนใกล้รุ่งครับไม่ได้ดูคลิปอจ.หลายวันครับ ไปทำcpr มือถึอมาครับ555 พึ่งได้วันนี้ครับ 18.00ครับ ครั้งนี้ไม่เสียตั้งครับ

  • @penpugsuwan7447
    @penpugsuwan7447 Жыл бұрын

    การนอนไม่พอต่อวันสะสมต่อเนื่องนานๆ ทำให้สมองเสียสมดุลย์ ขาดประสิทธิภาพด้านสมาธิ การจำ การคิดคำนวณ วิเคราะห์ สรุปข้อมูลค่ะ

  • @sutatiputtasart1075
    @sutatiputtasart1075 Жыл бұрын

    ตอนนีเแปลกคือนอนและตื่นไม่ค่อยตรงเวลาเท่าไหร่..เริ่มนอน 10:00 - 10:30 ทุกคืน.. แต่ชอบตื่นมา..ตี 2..บางทีก็ตี 4 ..หรือตี 5 ค่ะ...บางวันก็นอนรวดเดียวเลย..ตื่นมา 7:30 น.ค่ะ...ไม่ค่อยเหมือนกันในแต่ละวัน...เลยไม่รู้เพราะอะไร...งงไปหมด🐯🦝😁😅🤣

  • @nutthaa.4499

    @nutthaa.4499

    Жыл бұрын

    เคยไปหาข้อมมูลมา เหมือนเมื่อก่อนมนุษย์จะไม่ได้นอนยาวรวดเดียวทั้งคืน มี first sleep, second sleep อันนี้ไม่รู่จิงป่าวนะคะ

  • @swisstime88

    @swisstime88

    Жыл бұрын

    เป็นเช่นกันครับ

  • @yazhischwartz.2135
    @yazhischwartz.2135 Жыл бұрын

    ถอนหายใจเลยค่ะ😌

  • @rod6555
    @rod6555 Жыл бұрын

    คุณหมอคะถ้าเราตอนกลางคืนไม่หลับเวลาที่จะเข้านอนก็ประมาณ 05:30 น 06:00เฉลี่ยเฉลี่ยประมาณนี้บางวันตี 3 ก็มีตี 2 ก็มีแต่ส่วนใหญ่จะเป็นคนนอนตอนกลางวัน เป็นมาได้ 1-2 ปีแล้วค่ะส่วนตัวเป็นโรคซึมเศร้าและโรคอารมณ์สองขั้วคุณหมอให้ยามาก็คือให้เราหลับได้จะเป็นคนไม่นอนตอนกลางคืนใช่ไหมคะแต่ในระหว่างวันส่วนใหญ่จะใช้เวลาไปกับการนอนมันเหมือนมันท้อแท้เบื่อหน่ายชีวิตไม่มีงานทำ

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    ก็ต้องพยายามปรับให้กลับมานอนเวลาปกติครับ กลางวันอย่านอน ให้มันง่วงมากๆ เดี๋ยวกลางคืนก็หลับได้เองครับ

  • @sveehaapy639
    @sveehaapy639 Жыл бұрын

    ช่วยพูดเรื่องค่าในเลือดเหล็กสูง ให้ฟังด้วยค่ะ

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    ถ้าหมอตรวจเจอเรื่องนี้ต้องถามเขาให้เข้าใจเลยครับ มันต้องดูว่าเหล็กเกินจากโรคอะไร ทำไมเกินแล้วเกินแค่ไหน เพราะการรักษาต่างกันครับ

  • @urailuelan6550
    @urailuelan6550 Жыл бұрын

    เมื่อก่อนตอนอยู่เมืองไทยทำงานโรงงานทำในห้องLab บ้าทำงานคะเริ่มงานตอน8.00-22.00อาทิตย์ละ6วันอาการมสออกตอนเดือนที่6ค่ะบ้านหมุนตาลายความดันต่ำคืทรมานทีสุดคะเพราะนอนคืนละ3-4ชม.ต่อคืนคะไม่ดีเลยคะจริงๆ

Келесі