No video

ทำความรู้จักกับแบต Lithium LiFepo4 และ Lithium NMC ก่อนใช้งาน และมาดูสาเหตุที่แบตไหม้และระเบิดกัน!!!

ทำความรู้จักกับแบต Lithium LiFepo4 และ Lithium NMC ก่อนใช้งาน และมาดูสาเหตุที่แบตไหม้และระเบิดกัน!!!

Пікірлер: 62

  • @somchaidiy5663
    @somchaidiy56632 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ ข้อมูลกระจ่างเลยครับ

  • @user-ir9ko2vz5p
    @user-ir9ko2vz5p2 жыл бұрын

    ที่ระเบิดเพราะว่าสารอิเลคทรอไลท์ที่ทำให้อิออนของลิเทียมเคลื่อนย้ายและสารนี้จะมีจุดวาปไฟอยู่ ไม่ใช่ MNC 3.7V เพราะตัวนี้มีองค์ประกอบคือออกซิเจนอยู่แล้ว และเมื่อเกิดไฮดรอเจนที่เกิดจากการ Over Charge จะทำให้ระเบิดได้เช่นกัน สำหรับ Lifepo4 3.2V จะต่ำกว่า และ LTO 2.3V แทบจะไม่มีจุดที่วาปไฟเลย และเป็นอะไรที่ปลอดภัยสุด แต่ปัญหาคือไม่ค่อยมีใครใช้เพราะแพงและหา BMS ยาก ต้องโดดไปใช้ Smart BMS แทน ความน่ากลัวของแบตเตอรี่ที่สุดคือ Over Charge ครับ ดังนั้นควรรักษาแรงดันให้อยู่ในการควบคุมตามชนิดของแบตเตอรี่และถ้าจะเก็บรักษาเวลานานควรต้องปล่อยประจุให้เหลือแรงดันมาตรฐานของแบตเตอรี่ อย่าชาร์จจนเต็มเพราะว่าจะอันตรายเนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นจะทำให้เกิดแรงดันของแบตเตอรี่เกินได้ ยิ่งไม่ใส่ BMS ยิ่งน่ากลัว

  • @bozzalnw5357
    @bozzalnw53572 жыл бұрын

    ขออนุญาตแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องแบตเตอรี่ระเบิด ขอแนะนำตัวครับ ผมเป็นคนนึงที่เคยเรียนทางด้านเคมีไม่นานในตอนปี 1 เป็นหลักสูตรภาคบังคับของคณะวิศวกรรม ปัจจุบันจบมาได้ 2 ปีเป็นวิศวกรไฟฟ้า เลยอยากเอาข้อมูลมาแบ่งปัน ผมได้ติดตั้งระบบโซล่าด้วยตัวเองเสร็จเมื่อเร็วๆนี้ (10 วันที่แล้ว) ก็ได้ศึกษามาค่อนข้างละเอียดในทุกๆเรื่อง ทุกๆมาตราฐานความปลอดภัย ข้อมูลทั้งหมดนี้ผมสละเวลาพิมพ์จากความเข้าใจของตัวเองทั้งหมด ไม่ได้คัดลอกจากที่ไหน และมีแหล่งข้อมูลอ้างอิง ขอเกริ่นหลักการทำงานของแบตเตอรี่ลิเทียมก่อนในสภาวะปกติ ที่มาของแบตเตอรี่ลิเทียม เหตุผลที่เขาใช้ธาตุลิเทียมมาทำแบตเตอรี่เพราะเป็นธาตุในตารางธาตุที่มีค่า E0 ต่ำสุดในตารางธาตุ (มีความสามารถในการรีดิวซ์จ่ายอิเล็กตรอนเก่งสุดในตารางธาตุ) พูดภาษาชาวบ้านคือปลดปล่อยประจุไฟฟ้าลบ จ่ายกระแสได้ดีสุดในตารางธาตุ ปกติโครงสร้างแบตเตอรี่ลิเทียม NMC (หรือจะแบตเตอรี่อะไรก็ตาม) จะประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนขั้วบวก (Cathode แคโทด) และ ขั้วลบ (Anode แอโนด) และส่วนของอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) ที่ขั้นระหว่างฝั่ง (Cathode แคโทด) (Anode แอโนด) ความรู้ที่ควรทราบก่อนอ่านต่อไป **อิเล็กตรอนไหลจากขั้วลบไปขั้วบวก** **ฝั่งขั้วบวกจะเป็นฝั่งที่เกิดปฏิกิริยาเคมีที่รับอิเล็กตรอน ในทางเคมีเรียกปฏิกิริยารีดักชั่น Reduction ** **ฝั่งขั้วลบจะเป็นฝั่งที่เกิดปฏิกิริยาเคมีที่จ่ายอิเล็กตรอน ในทางเคมีเรียกปฏิกิริยาออกซิเดชั่น Oxidation ** **ธาตุลิเทียมเพียวๆ (Li) เป็นโลหะหมู่ 1A ซึ่งเป็นโลหะที่ไม่เสถียรมากๆ ไวต่อปฏิกิริยา โยนลงน้ำ หรือสัมผัสกับอากาศจะทำให้ลุกติดไฟระเบิดรุนแรง เหมือนโลหะโซเดียมหรือโพแทสเซียมที่อยู่หมู่ 1A เช่นเดียวกัน** **การที่โลหะลิเทียมจะเสถียรได้ในสภาวะปกติ จำเป็นต้องอยู่กับโลหะเชิงซ้อนทรานซิชั่นจำพวก นิกเกิล (Ni), แมงกานีส (Mn),โคบอล (Co) จับพันธะกันเป็นโครงสร้างโลหะเชิงซ้อน LiNi(y)Mn(y)Co(1-2y)O2 ในที่นี้นักวิทยาศาสตร์เขารู้ว่าถ้ามันอยู่ในรูปโลหะเชิงซ้อนกับแมงกานีสโคบอลออกไซด์ตามสมการที่พิมพ์ไป มันจะทำให้ลิเทียมเสถียรจึงเป็นเหตุผลว่าทำไมแบตเตอรี่ถึงเป็นลิเทียมแมงกานีสโคบอลออกไซด์** หรือเขียนย่อว่า ลิเทียม NMC นั่นเองครับ ต่อใต้คอมเม้น…

  • @bozzalnw5357

    @bozzalnw5357

    2 жыл бұрын

    เริ่มเนื้อหา โครงสร้างฝั่งของขั้วบวก (แคโทด) จะเป็นฝั่งของโลหะเชิงซ้อนลิเทียมที่เสถียร LiNi(y)Mn(y)Co(1-2y)O2 ส่วนฝั่งขั้วลบ (แอโนด) จะไม่มีอะไรเป็นแค่การเอามีเดี่ยดูดซับ เช่น แกรไฟต์ มาทำหน้าที่ดูดซับโลหะลิเทียม กระบวนการตอนชาร์จ charge state : ฝั่งขั้วบวกโลหะเชิงซ้อนลิเทียมจะถูกสนามไฟฟ้าจากแรงดันชาร์จ ทำให้โลหะเชิงซ้อนลิเทียมจ่ายอิเล็กตรอน (ปฏิกิริยาออกซิเดชัน oxidation ) LiNi(y)Mn(y)Co(1-2y)O2 ---> [Ni(y)Mn(y)Co(1-2y)O2] + Li(+) + e- ตัวของลิเทียมไอออน Li(+) จะซึมผ่านเจลอิเล็กโทรไลต์ไปยังฝั่งขั้วลบที่มีมีเดี่ยดูดซับแกรไฟต์ เพื่อไปรวมกับอิเล็กตรอน e- กลายเป็นโลหะลิเทียม (Li) เพียวๆที่ฝั่งขั้วลบบนมีเดี่ยแกรไฟต์ เราเคยพูดไปแล้วว่าโลหะลิเทียม (Li) มันไม่เสถียรมากๆ แต่ด้วยว่ามันอยู่บนมีเดี่ยแกรไฟต์มันจึงเสถียรขึ้นบ้าง แต่ก็สู้การอยู่เป็นโลหะเชิงซ้อนลิเทียม LiNi(y)Mn(y)Co(1-2y)O2 แบบฝั่งขั้วบวกไม่ได้ ณ.จุดนี้แหละมันคือ Electrical potential ที่ทำให้แบตเตอรี่ลิเทียมสามารถจุพลังงานไฟฟ้าได้ในรูปพลังงานเคมีจากการทำให้โลหะลิเทียมอยู่อย่างไม่เสถียร และไม่เสถียรที่ค่าศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 4.2 โวลท์ เมื่อเทียบกันระหว่าง LiNi(y)Mn(y)Co(1-2y)O2 กับ Li นี่เป็นเหตุผลที่ทำไมลิเทียม NMC ถึงมีแรงดัน 4.2 โวลท์ ทำไมลิเทียมเหล็กฟอสเฟต LiFePO4 ถึงมีแรงดัน 3.6 โวลท์ เพราะความไม่เสถียรของสารเคมีที่นำมาสร้างต่างกัน ส่วนกระบวนการ discharge จ่ายไฟ : ที่ขั้วลบโลหะลิเทียม (Li) ไม่เสถียรที่ถูกดูดซับโดยมีเดี่ยแกรไฟต์ จะจ่ายอิเล็กตรอนให้โหลด(นั่นก็คือไฟฟ้าจากแบตที่เรานำไปใช้งานนั่นแหละ) เรียกปฏิกิริยาออกซิเดชัน oxidation Li --> Li(+) + e- ลิเทียมไอออน Li(+) จะซึมผ่านอิเล็กโทรไลน์กลับไปรวมกับโลหะเชิงซ้อนที่ขั้งบวกเช่นเดิม ในขณะที่อิเล็กตรอนที่ออกจากโหลดก็มารวมกลับกลายเป็นโลหะเชิงซ้อนลิเทียมที่เสถียรเช่นเดิม Li(+) + e(-) + Ni(y)Mn(y)Co(1-2y)O2 ---> LiNi(y)Mn(y)Co(1-2y)O2 จนหมดเกลี้ยง เลยเรียกว่าแบตหมดนั่นเอง หลักการเป็นวัฏจักรวนไปแบบนี้ การที่มันระเบิดเกิดจากการที่เราทำให้อุณหภูมิแบตมันสูงมากไม่ว่าจะเป็นชาร์จเกิน หรือ C-rate สูง จนเจลอิเล็กโทรไลต์ที่ขั้นระหว่างฝั่งขั้วลบและขั้วบวกมันระเหย ทำให้โลหะลิเทียม (Li) ไม่เสถียรที่ถูกดูดซับโดยมีเดี่ยแกรไฟต์จะสัมผัสกับโลหะเชิงซ้อน Ni(y)Mn(y)Co(1-2y)O2 โดยตรง ระเบิดสิ เพราะพลังงานศักย์เคมี Electrochemical energy มันเต็มเหนี่ยว มาเจอกัน ช็อตภายในแบตนั่นเองพูดง่ายๆ

  • @iamteacher7803

    @iamteacher7803

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณมากเลยครับสำหรับข้อมูล คลิปต่อไป จะขออนุญาตอ้างอิงข้อมูลนะครับ หวังว่าสมาบิกที่เย้ามาอ่าน จะเข้าใจและรับทราบครับ

  • @vichitkid5747

    @vichitkid5747

    2 жыл бұрын

    Anode น่าจะเป็นขั้วบวก cathode น่าจะเป็นขั้วลบ ตาม dictionary

  • @bozzalnw5357

    @bozzalnw5357

    2 жыл бұрын

    @@vichitkid5747 ถ้าเป็นเซลอิเล็กโตรไลต์ (Electrolysis) (เซลที่สร้างพลังงานเคมีจากพลังงานไฟฟ้า) หรืออุปกรณ์ที่กินพลังงานไฟฟ้า ขั้วบวกจะเป็นแอโนด ขั้วลบจะเป็นแคโทด ยกตัวอย่างเซลอิเล็กโทรไลต์เช่น การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า โรงงานทำโซดาไฟ (โซเดียมไฮดรอกไซด์) โรงงานชุบโลหะ อุตสาหกรรมผลิตเคมีภัณฑ์เกือบทุกออย่างจะใช้กระบวนการอิเล็กโทรไลต์ แต่ถ้าเป็นเซลล์กัลวานิก (เซลที่สร้างไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมี) หรือคือแบตเตอรี่ที่เรารู้จักกัน รวมถึง Hydrogen fuel cell ขั้วบวกจะเป็นแคโทด ขั้วลบจะเป็นแอโนด กลับข้างกันกับเซลล์อิเล็กโทรไลต์ รากความหมายของคำว่าแคโทดคือการรับอิเล็กตรอน รากความหมายของคำว่าแอโนดคือจ่ายอิเล็กตรอน คนหลายคนมักจำว่า บวก=แอโนด ลบ=แคโทด ซึ่งมันไม่เสมอไปครับ มันขึ้นอยู่กับว่าสิ่งที่เราพิจารณาเป็นอุปกรณ์ Passive หรือ Active **ข้อมูลนี้อิงจากหนังสือเคมี ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี ของอ.อุ๊ หน้าที่ 39 ตีพิมพ์ปี 2557

  • @bozzalnw5357

    @bozzalnw5357

    2 жыл бұрын

    @@iamteacher7803 คลิปอันนี้อธิบายได้ละเอียดมากครับ ในหลักการทำงานและเหตุผลของการระเบิดในนาทีที่ 5:10 ของคลิป เผื่อใช้ในการทำคลิปต่อไปได้ครับผม 😊 kzread.info/dash/bejne/iKyBr5agYrbRaLg.html

  • @worrawutklibngoen1266
    @worrawutklibngoen1266 Жыл бұрын

    อธิบายได้ดีครับ และอ่านคอมเม้นท์สร้างความเข้าใจได้ดีเลยครับ สรุป ที่ระเบิดเพราะอุณหภูมิสูง ต้องคุมโวลต์คุมกระแสและเช็คอุณภูมิ ไม่เกี่ยวกับชนิดแบต ขอบคุณข้อมูลดีๆครับผม

  • @pephanuwat
    @pephanuwat11 ай бұрын

    LFP ไซเคิลจะสูงกว่าครับ แต่ประสิทธิภาพสู้ MMC ไม่ได้

  • @punchachaiwatPunchanthuk
    @punchachaiwatPunchanthuk7 ай бұрын

    ผมมีข้อสงสัยสองข้อครับ 1. มีข้อมูลอ้างอิงจากไหนบ้างครับที่บอกว่าแบต LifePO4 สามารถระเบิดหรือประทุไฟจาก over charge หรือ internal heat. 2. มีข้อมูลอ้างอิงจากไหนบ้างครับที่บอกว่า แบต NMC มี Life cycle มากกว่า LifePO4 ที่สภาวะใช้งานมาตรฐาน และที่เกรดเดียวกัน

  • @user-vo2sv1cc8c
    @user-vo2sv1cc8c2 жыл бұрын

    ขอทราบ ร้านค้า ที่มีคุณภาพ ไปซื้อด้วย .ตนเอง ไม่อยากซื้อ ใน ลาซาด้า เเละ ซอบปี้ง ได้ของ มา ห่วย ไม่ตรงสินค้า ที่สั่ง ครับ อาจารย์ น่าจะขายเอง จะดีมากๆครับ

  • @weekendgardener1938
    @weekendgardener19382 жыл бұрын

    อธิบายได้ชัดเจนดีครับ... ชอบ👍👍👍

  • @sawaikoompiwdam5253
    @sawaikoompiwdam52532 жыл бұрын

    กำลังเรียนรู้อยู่ครับขอบคุณ คุณครูที่แนะนำความรู้ครับ

  • @nutechniciandiy1742
    @nutechniciandiy17422 жыл бұрын

    เยี่ยมเลยครับ​ สำหรับข้อมูล

  • @prakitthaipanich6685
    @prakitthaipanich66852 жыл бұрын

    ดีมากได้ความรู้

  • @user-dk7pf5bj9h
    @user-dk7pf5bj9h2 жыл бұрын

    อธิบายได้ดีมากครับ

  • @simonray4713
    @simonray4713 Жыл бұрын

    ผมเห็นเอา LiFepo4 ไปวางไว้หน้ารถ เวลาเกิดชนขึ้นมาหรือมีความร้อนสูงๆมานี่ไม่เป็นอะไรหรือครับ?

  • @natrapongminbumrung620
    @natrapongminbumrung6202 жыл бұрын

    ของผมใช้ nmc 100 ah. 48v. แบตฯอุ่น วัดอุณหภูมิ 32 องศา

  • @natrapongminbumrung620

    @natrapongminbumrung620

    2 жыл бұрын

    เพิ่งใช้งานมา 2 อาทิตย์ครับไม่มีความรู้

  • @tiger.R.lamboy
    @tiger.R.lamboy2 жыл бұрын

    เยียมยอดมากครับ ขอบคุณครับ

  • @soonthornfaisong2520
    @soonthornfaisong252011 ай бұрын

    อาจารย์ ของผมNMCเพิ่งใช้ไป2ปีกว่า มันบวมมากเลยครับ ควรใช้ต่อไหมครับ

  • @user-hf4xo4bk7n
    @user-hf4xo4bk7n2 жыл бұрын

    สอบถามครับ แบต nmc 8s 24v 227ah โวลล์แบตที่ 27v แบบนี้ไฟอ่อนไหมครับ

  • @juntra-idea
    @juntra-idea2 жыл бұрын

    ออกซืเจน เข้าไปผสม แมงกานีส ในแบตได้ในส่วนไหนครับ

  • @virojlaohrojkul3844
    @virojlaohrojkul3844 Жыл бұрын

    ถ้าใช้ Inverter 12 v ใช้ nmc หรือ lifepo4 ดีครับ

  • @user-lp5ny8jo2s
    @user-lp5ny8jo2s2 жыл бұрын

    Inverter ระบบ 24v 4000w ใช้กับแบต 24/180A ควรใช้แผงไม่เกินกี่วัตต์ครับ mppt 50A 100-144V

  • @lohelucky1951
    @lohelucky19512 жыл бұрын

    มันระเบิดก็เพราะแบตเตอรี่ร้อนจนทำให้มันรั่ว แล้วออกซิเจนก็เข้าไปในแบตเตอรี่

  • @MinecraftPanny
    @MinecraftPanny2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ😊

  • @user-jn2us7qx2o
    @user-jn2us7qx2o2 жыл бұрын

    แบตลิเธียมใช้ได้นานกี่ปีคะคุณคูร

  • @user-be1bo2xp8m
    @user-be1bo2xp8m2 жыл бұрын

    อยากให้แนะการชาจกับเครื่องชายธรรมดา

  • @otarubijang73
    @otarubijang732 жыл бұрын

    24v 200a พร้อม BMS ราคาเท่าไหร่ครับ อาจารย์

  • @user-xo1pq6ku6k
    @user-xo1pq6ku6k2 жыл бұрын

    ผมยากได้แบ็ต12v280แอมซื้อได้ที่ไหนครับแบบไม่โดนหลอกครับ

  • @apiwattaengthai66
    @apiwattaengthai662 жыл бұрын

    อยากได้ 24V 150A คับ ราคาเท่าไหร่คับ

  • @suwinaizheng9858
    @suwinaizheng98582 жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับ

  • @sakornkee
    @sakornkee9 ай бұрын

    อันตรายนะนี่

  • @user-qe8bx5ry4m
    @user-qe8bx5ry4m2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @keovilaichanel4580
    @keovilaichanel4580 Жыл бұрын

    ชาร์จแบตเตอรี่ไม่เต็มเชื่อมง่ายไม่ครับ

  • @user-eo3rv7wj6o
    @user-eo3rv7wj6o2 жыл бұрын

    แบตเตอรี่ลิเธียมฟอสเฟต สามารถวางแนวนอนได้ไหมครับ

  • @iamteacher7803

    @iamteacher7803

    2 жыл бұрын

    วางได้ครับ

  • @user-us2pl5sy2d
    @user-us2pl5sy2d Жыл бұрын

    หาซื้อได้ที่ไหน

  • @user-ne2mb6gl9b
    @user-ne2mb6gl9b2 жыл бұрын

    หาซื้อที่ไหนครับ

  • @GigKokl3Lover
    @GigKokl3Lover2 жыл бұрын

    ทำเพจขายเถอะครับ อยากซื้ออยากสั่งประกอบจากผู้ที่มีความรู้จริง ๆ และเลือกสรรแต่สิ่งที่ดีจริง ๆ มาขายครับ

  • @GigKokl3Lover

    @GigKokl3Lover

    2 жыл бұрын

    ปักหมุดไลน์ไว้ก่อนครับเดี๋ยวลืม 0872500566

  • @user-px5pd7lr9g
    @user-px5pd7lr9g2 жыл бұрын

    อาจารย์มีช่องทางติดต่อไหมครับ

  • @iamteacher7803

    @iamteacher7803

    2 жыл бұрын

    0872500566 add line หรือ โทรได้ครับ

  • @user-gv3mp1sf1o
    @user-gv3mp1sf1o2 жыл бұрын

    1cคือตามแอมของแบตรี่ใช้ไหมคับ

  • @iamteacher7803

    @iamteacher7803

    2 жыл бұрын

    ใช่ครับ

  • @yudtana89
    @yudtana892 жыл бұрын

    Nmc ทำ12v ใช้งานกับรถยนต์เหมาะไหมครับ ถ้าเทียบกับLfp

  • @user-vt9tv8wd4z

    @user-vt9tv8wd4z

    2 жыл бұрын

    Nmcระเบิดครับไดร์รถชาร์จเกิน

  • @nipawutseedama9120
    @nipawutseedama91202 жыл бұрын

    48v200a ราคาเท่าไรครับ

  • @user-dq7eu2ex7b
    @user-dq7eu2ex7b Жыл бұрын

    24 v 140 am ราคาเท่าไร

  • @kengeakaphot1460
    @kengeakaphot14602 жыл бұрын

    พี่อยู่ จ. อะไรครับ ขอบคุณครับ

  • @kovitkovit
    @kovitkovit2 жыл бұрын

    Nmc24v200aสั่งชื้อจากอาจารย์ได้ไหมพร้อมbmsคับ

  • @iamteacher7803

    @iamteacher7803

    2 жыл бұрын

    สั่งได้ครับ แอดไลน์มาได้ครับ 0872500566

  • @user-lu6vk1zt5g

    @user-lu6vk1zt5g

    2 жыл бұрын

    สนใจอยาก อยากใด้ลิเทียมฟอสเฟส 12v100a สั่งซื้อใด้ที่ใหนครับ จะใช้กับแผงโซลาเซล

  • @sisomphonemanikeo162
    @sisomphonemanikeo162 Жыл бұрын

    ขาไอดีลายน่อย

  • @iamteacher7803

    @iamteacher7803

    Жыл бұрын

    @kbsolar ครับ

  • @cafeine2010
    @cafeine20102 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

Келесі