FixIT EP.35.2

Ғылым және технология

Online 9 ก.ค. 2565 เวลา 05.00 น. รับชมพร้อมกันได้เลยครับ
คลิ๊ปนี้อธิบายการทำงานของโหลดที่กินกระแสสูง เช่น มอเตอร์ หลอดไฟ การควบคุมการทำงานด้วยตัวต้านทานปรับค่าได้ อย่างถูกต้อง จะทำให้ตัวต้านทานปรับค่าได้ ไม่เสียหาย ไม่ไหม้ ใช้งานได้นาน
หากรับชมแล้วเห็นว่าคลิ๊ปนี้ดี และมีประโยชน์ โปรดกดชอบ กดติดตาม เพื่อเป็นกำลังใจ และไม่พลาดคลิ๊ปใหม่ ๆ ครับ
ซื้อเครื่องมือช่างพื้นฐาน อุปกรณ์ทดลอง ที่จำเป็น mycollection.shop/corecomcenter
คลิ๊ปที่เกี่ยวข้อง
ทรานซิสเตอร์ EP.6.1 Self Bias by Optocoupler and Zener Protection • 📲💡 Self Bias by Optoco...
ทรานซิสเตอร์ EP.6 Self Bias and Zener Diode Protection Part 1 • 📲💡 Self Bias and Zener...
ทรานซิสเตอร์ EP.5 Boost Mode ตัวแปรสร้างเสถียรภาพ • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
ทรานซิสเตอร์ EP.4 Boost Mode สภาวะเร่งพลังงาน • ทรานซิสเตอร์ ( transis...
ทรานซิสเตอร์ EP.3 การไบอัสแบบคงที่ เพื่อเป็น Power Supply • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
ทรานซิสเตอร์ EP.2 การจัดวงจรลักษณะต่าง ๆ Push-Pull เรียนรู้ เข้าใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
ทรานซิสเตอร์ EP.1 ทฤษฎี+workshop เบื้องต้น • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
เพิ่ม โวลต์-แอมป์ มิเตอร์ ให้ บอร์ดทดลอง (DIY Volt-Amp meter to BreadBoard) • เพิ่ม โวลต์-แอมป์ มิเต...
ซีเนอร์ไดโอด • ซีเนอร์ไดโอด (Zener Di...
ตัวต้านทาน pull up-down • ตัวต้านทาน Pull up Pu...
regulator • Regulator เรกูเลเตอร์ ...
ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.1 หลักการทำงาน การวัด การต่อใช้งาน • FixIT EP.35 #ตัวต้านทา...
ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.2 การต่อใช้งาน ข้อดี ข้อเสีย การจัดวงจร แนวทางการแก้ไข • FixIT EP.35.1 #ตัวต้าน...
ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.3 ขับกระแสสูงให้โหลด • FixIT EP.35.2 #ตัวต้าน...
ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.4 การวัดตัวต้านทานปรับค่าได้ ที่ซื้อมาจาก Online • FixIT EP.35.3 #การวัดต...
DIY แหล่งจ่ายไฟ "ปรับแรงดันได้" จากแบตเตอรี่ เพื่อใช้ในการตรวจซ่อมอุปกรณ์ • DIY แหล่งจ่ายไฟ "ปรับแ...
รับชมความรู้อื่น ๆ เลือกดูได้ตามความสนใจได้เลยครับ www.youtube.com/@CoreComCente...

Пікірлер: 37

  • @CoreComCenter
    @CoreComCenter2 жыл бұрын

    แจ้งการแก้ไขเนื้อหาในคลิ๊ปนะครับ พูดผิดใน นาทีที่ 23.46 ที่พูดว่า 0.043A คือ 4.3mA ผมพูดผิดครับเนื่องจากเป็นการอัดรายการแบบสด ๆ ที่ถูกคือ 1000mA = 1A ค่าที่ได้ 0.043 คือ 43 milli Amp หรือ 43mA ครับ ขอบคุณมาก ๆ ครับสำหรับกำลังใจ เรียนรู้ไปด้วยกันนะครับ

  • @toeshidaechannel559
    @toeshidaechannel559 Жыл бұрын

    ❤ ขอบพระคุณ คุณพี่มากๆเลยครับ ผมกำลังศึกษาเรื่องอิเล็กทรอนิกส์ไว้สร้างงานครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    สุดยอดเลยครับ ฝากติดตามครับผม ขอบคุณมาก ๆ ครับ

  • @airdinamo
    @airdinamo10 ай бұрын

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @user-hj5kx1oo4z
    @user-hj5kx1oo4z28 күн бұрын

    ความรู้ดีๆจากอิเล็กทรอนิกส์

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    27 күн бұрын

    ขอบคุณมากๆครับผม

  • @keangbontaisng466
    @keangbontaisng4664 ай бұрын

    ได้ความรุ้มากครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    4 ай бұрын

    ขอบคุณมากๆ ครับผม

  • @ilovethailand1487
    @ilovethailand14872 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ🌟🌟🌟🌟🌟

  • @thongchaijun6383
    @thongchaijun6383 Жыл бұрын

    ผมพึ่งเริ่มศึกษาขอบคุณครับสำหรับความรู้ดีๆที่มีแบ่งปัน ขอเป็นFC อีกคนครับอาจารย์

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับ สำหรับกำลังใจดี ๆ จะได้พัฒนาแหล่งเรียนรู้ต่อ ๆ ไป เรียนรู้ไปด้วยกันนะครับ

  • @TAMSAK100
    @TAMSAK100 Жыл бұрын

    Thank.

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    โอเคครับพี่ ขอบคุณมาก ๆ ครับผม

  • @komkritpanichjaroen2640
    @komkritpanichjaroen2640 Жыл бұрын

    ผมจะเอาหรี่ความเร็วมอเตอร์ไปใช้กับพัดลมที่เป่าคอล์ยร้อนแอร์รถยนต์ได้มั้ย คือให้มันลดความเร็วลงมาคือจะเอาไปใช้เป็นพัดลมเวลาอากาศร้อนน่ะครับถ้าเดิมเดิมมันแรงจัดไป .

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    หรี่ได้ครับ 0-24 V สบาย ๆ เลย ใช้ทรานซิสเตอร์ หรือมอสเฟส ตัวสเปคดี ๆ หน่อย ติดซิ้งค์ระบายความร้อนให้กับทรานซิสเตอร์ หรือมอสเฟสด้วย ก็แจ่มเลยครับ

  • @komkritpanichjaroen2640

    @komkritpanichjaroen2640

    Жыл бұрын

    @@CoreComCenter ขอบคุณครับอาจารย์คงจะต้องไปหาซื้อมาแล้วล่ะ..ขอบคุณครับ.

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    หาจากอะไหล่เก่า Power Supply เสียก็ได้ครับ ตามร้านขายของเก่าน่าจะมีเยอะ เขาช่างกิโลขาย ส่วนผมที่ทดลองก็นำมาจากพาเวอร์ตัวถูก ๆ ที่เสีย ส่วนมากเขาจะไม่ซ่อมกัน เลยมารื้อดูมีอะไหล่เพียบเลยครับ ตัวต้านทาน ทรานซิสเตอร์ หม้อแปลง ตัวเก็บประจุ ฯลฯ มีประโยชน์ทั้งนั้นเลยครับ

  • @user-sd3lu1rq7d
    @user-sd3lu1rq7d2 жыл бұрын

    อธิบายเข้าใจง่ายดีชอบมากเลยติดตามแล้วครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับ เรียนรู้ไปด้วยกันนะครับ

  • @user-tt9lh2zc9y
    @user-tt9lh2zc9y11 ай бұрын

    บางแอดมินเขาอธิบายวอลลุ่มเพียง2ขาเช่นขากลางกับขาสามเเล้วหมุนวอลลุ่มให้ดูความเปลี่ยนเเปลงของความต้านทาน โดยเขาบอกว่าขากลางเป็นv in ขาสามเเป็น Voutตรงนี้มันใช้งานคนละอย่างกัยที่อ.จ.กำลังอธิบายยังไงครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    11 ай бұрын

    การใช้งาน volume จะใช้งานได้ 2 ลักษณะ คือ ปรับแรงดัน กับ ปรับกระแส จะใช้แบบไหนก็ได้ ไม่ผิดกฎ ใช้ 2 ขา จะใช้คู่ที่ใกล้กัน เช่น 1-2 หรือ 2-3 ก็ได้ ใช้สองขาคือ ปรับกระแสไฟฟ้า ส่วนในคลิ๊ปจะใช้ในลักษณะการแบ่งแรงดันแบบแปรผัน ซึ่งก็นำไปใช้ประโยชน์ในวงจรที่ต้องการใช้แรงดันที่ปรับค่าได้แบบแปรผันครับ ถ้าใช้เพียง 2 ขา จะปรับกระแสได้เพียงอย่างเดียว แรงดันจะเท่า Vin ครับ

  • @zawsan887
    @zawsan887 Жыл бұрын

    อยากรู้วิธีต่อวอลลุ่ม rv097ns 5ขา บนขา transistor npn ช่วยหน่อยครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    หลักการคล้ายกันครับ จะมี 5 ขา ขา 1 ต่อกับ Ground(-) , Vout จะออกขา 2 ไปต่อไบอัสขา B ทรานซิสเตอร์, ขา 3 ต่อไฟเข้า Vin+, ส่วน ขา S1, S2 คือ สวิทต์หลักการคล้าย Relay ส่วนความสัมพันธ์ระหว่าง ขา 1 - 3 กับ S1, S2 ผมยังไม่ทราบว่ามันสัมพันธ์กันอย่างไรครับ แต่พอดู Datasheet แล้ว เหมือนว่าถ้าหมุนลงสุดจะปิดการทำงาน อะไรประมาณนี้ครับ ยังไม่เคยเจอตัวนี้ ไว้จะหามาทดลองให้ครับผม store.logicneed.com/product/9505

  • @user-ul8jq7vj1f
    @user-ul8jq7vj1f2 жыл бұрын

    อาจานย์ครับวงขจรนี้ใช้ไฟACหรือDCกรุณาบอกหนอยครับผม

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    2 жыл бұрын

    ไฟ dc ครับ + -

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    2 жыл бұрын

    แหล่งจ่ายกี่โวลต์ก็ได้ สามารถขับแรงดันได้ตามที่โหลดต้องการ อย่าลืมจีดการเรื่องความร้อนของทรานซิสเตอร์ด้วยนะครับ

  • @hahaha60647
    @hahaha606478 ай бұрын

    อาจารย์ครับ ถ้าเราจะไปใช้ประเภทกระทะไฟฟ้าเราสามารถเพิ่มทรานซิสเตอร์ ขนานกันให้ทนกระแสได้รึปล่าวครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    8 ай бұрын

    transistor ขับกระแสสูงได้ประมาณนึงครับ ถ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดความร้อน ต้องมีสัญญาณ สวิชชิ่งผ่านขดลวดเหนี่ยวนำครับ ปกติกะทะไฟฟ้า เขาจะใช้ไฟฟ้ากระแสสลับผ่านขดลวดทำความร้อนครับ ตัวที่ผมทดลองเป็นวงจรไฟฟ้าขนาดกระแสสูงทั่ว ๆ ไป แต่ไม่ได้สูงมาาาาก จนเกิดความร้อนได้ครับ

  • @user-tj5lc1ig7t
    @user-tj5lc1ig7t Жыл бұрын

    ถ้านำใปสั่งทรานชิตเตอร์ชนิด pnpชุดไดร์ ต้องนำไปสั่งขา B ใช่ใหมคับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ถ้าใช้ไดร์ฟ pnp สั่งขา b เหมือนกันครับ แต่ไฟจะออกแบบ inverting คือสมมติ Vin 12V ถ้าแรงดันขา b เท่ากับ 4 โวล์ ไฟจะออกไปขา c ประมาณ 8 โวล์ครับ เพราะหลักการ pnp ต้องลดไฟ ไฟถึงจะออกครับ เดี๋ยวจะค่อยๆ ทยอยทำคลิปให้ครับ

  • @user-tj5lc1ig7t

    @user-tj5lc1ig7t

    Жыл бұрын

    @@CoreComCenter ขอบคุณคับอาจารย์

  • @pscom6416
    @pscom6416 Жыл бұрын

    คือสรุปว่า เราควบคุมโหลดด้วยกระแสไบอัสได้มั้ยครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ได้ครับผม โอเคเลยครับผม

  • @user-tt9lh2zc9y
    @user-tt9lh2zc9y11 ай бұрын

    ที่วอลลุ่มทั้3ขา ขาบนบอกว่าเป็นv inเป็นวีอินของวอลลุ่มหรือทรานสิสเตอร์ครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    11 ай бұрын

    Vin ของVolume และ Vin ของทรานซิสเตอร์ด้วยครับ ใช้แหล่งจ่ายร่วมกัน เมื่อ Volume ปรับแรงดันไบอัส กระแส และแรงดัน จะออกตามค่าที่เขาได้รับมาครับ

Келесі