No video

FixIT EP.35.1

คลิ๊ปนี้สาธิตการจัดวงจรเพื่อทดสอบตัวต้านทานปรับค่าได้ เพื่อให้ทำงานได้ และสาธิตการช๊อต การไหม้ของโหลด แล้วส่งผลให้ตัวต้านทานปรับค่าได้ไหม้เสียหาย ข้อดี-ข้อเสีย การใช้ตัวต้านทานปรับค่าได้ลดแรงดันไฟฟ้า เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบวงจร การตรวจสอบงานซ่อมครับ
แหล่งซื้ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์การทดลอง เลือกมาไว้เพื่อคุณโดยเฉพาะครับ สั่งซื้อได้ผ่าน shopee
mycollection.s...
หากรับชมแล้วเห็นว่าคลิ๊ปนี้ดี และมีประโยชน์ โปรดกดชอบ กดติดตาม เพื่อเป็นกำลังใจ และไม่พลาดคลิ๊ปใหม่ ๆ ครับ
คลิ๊ปที่เกี่ยวข้อง
PNP ทรานซิสเตอร์ เรียนรู้+ปฏิบัติ #Transistor EP.7 • PNP ทรานซิสเตอร์ เรียน...
ทรานซิสเตอร์ EP.6.1 Self Bias by Optocoupler and Zener Protection • 📲💡 Self Bias by Optoco...
ทรานซิสเตอร์ EP.6 Self Bias and Zener Diode Protection Part 1 • 📲💡 Self Bias and Zener...
ทรานซิสเตอร์ EP.5 Boost Mode ตัวแปรสร้างเสถียรภาพ • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
ทรานซิสเตอร์ EP.4 Boost Mode สภาวะเร่งพลังงาน • ทรานซิสเตอร์ ( transis...
ทรานซิสเตอร์ EP.3 การไบอัสแบบคงที่ เพื่อเป็น Power Supply • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
ทรานซิสเตอร์ EP.2 การจัดวงจรลักษณะต่าง ๆ Push-Pull เรียนรู้ เข้าใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
ทรานซิสเตอร์ EP.1 ทฤษฎี+workshop เบื้องต้น • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
เพิ่ม โวลต์-แอมป์ มิเตอร์ ให้ บอร์ดทดลอง (DIY Volt-Amp meter to BreadBoard) • เพิ่ม โวลต์-แอมป์ มิเต...
ซีเนอร์ไดโอด • ซีเนอร์ไดโอด (Zener Di...
ตัวต้านทาน pull up-down • ตัวต้านทาน Pull up Pu...
regulator • Regulator เรกูเลเตอร์ ...
ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.1 หลักการทำงาน การวัด การต่อใช้งาน • FixIT EP.35 #ตัวต้านทา...
ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.2 การต่อใช้งาน ข้อดี ข้อเสีย การจัดวงจร แนวทางการแก้ไข • FixIT EP.35.1 #ตัวต้าน...
ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.3 ขับกระแสสูงให้โหลด • FixIT EP.35.2 #ตัวต้าน...
ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.4 การวัดตัวต้านทานปรับค่าได้ ที่ซื้อมาจาก Online • FixIT EP.35.3 #การวัดต...
DIY แหล่งจ่ายไฟ "ปรับแรงดันได้" จากแบตเตอรี่ เพื่อใช้ในการตรวจซ่อมอุปกรณ์ • DIY แหล่งจ่ายไฟ "ปรับแ...
รับชมความรู้อื่น ๆ เลือกดูได้ตามความสนใจได้เลยครับ www.youtube.co...

Пікірлер: 38

  • @borworn2869
    @borworn28692 жыл бұрын

    ไม่มีความรู้ทางด้านนี้ ผมกำลังริเริ่มศึกษา สะสมความรู้ผู้เรื่อยๆ รู้สึกเข้าใจง่าย

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    2 жыл бұрын

    เรียนรู้ไปด้วยกันนะครับ

  • @tnservice168
    @tnservice1682 жыл бұрын

    ขอบคุณคับ ที่นำสิ่งดีสู่สังคม

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณมาก ๆ ครับ หวังว่าจะมีประโยชน์แก่ผู้ชมนะครับ เรียนรู้ไปด้วยกันนะครับ

  • @MR.Com_DIY
    @MR.Com_DIY2 жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับวิธีการครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    2 жыл бұрын

    สามารถนำไปประยุกค์ใช้ได้หลากหลายวิธีครับ

  • @user-sq4ee1qy3y
    @user-sq4ee1qy3y Жыл бұрын

    😮😮😮😮ขอบคุณความรู้❤❤

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมาก ๆ ครับผม

  • @sawahboungkhue5338
    @sawahboungkhue53385 ай бұрын

    ค่า k สูงต่ำมีผลกับการจ่ายไฟไหมครับสมมุติต่อแบตเตอรี่ 12 โวลท์ปรับสูงต่ำvจะเพิ่มขึ้นไหมครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    5 ай бұрын

    ครับผม สวัสดีครับ ตัวต้านทานปรับค่าได้ นิยมใช้เพื่อเป็นการป้อนแรงดันไบอัส ทรานซิสเตอร์ หรือมอสเฟตครับ ไม่นิยมนำไปเพื่อควบคุมไฟไปใช้งานโดยตรง เพราะตัวต้านทานปรับค่าได้จะขาด หรือไหม้ เพราะทนกระแสผ่านสูงไม่ได้ สำหรับวิธีการใช้งาน ผมได้ทำคลิ๊ปแยกออกมาอีกหลายคลิ๊ปเลยครับ kzread.info/dash/bejne/YpeEtpqjj93IhrA.html และ kzread.info/dash/bejne/qpuBzJKbn9mwmrw.html เป็นต้นครับ

  • @sawahboungkhue5338

    @sawahboungkhue5338

    5 ай бұрын

    ขอคำแนะนำหน่อยครับแบบนี้ต้องหาตัวอะไรมาทดแทนครับผมจะเอาไว้ปรับรถมอเตอร์ไซค์ 12 โวลท์กับพวกเกย์น้ำมันพวกเรือนไมล์วิ่งไม่ตรง

  • @sawahboungkhue5338

    @sawahboungkhue5338

    5 ай бұрын

    ขอบคุณครับผมว่าน่าจะได้ครับขนาดหลอดไฟยังปรับสว่างไม่สว่างได้พัดลมหมุนช้าหมุนเร็วได้ผมจะเอามาหลอกเกย์น้ำมันกับเซ็นเซอร์ความเร็ววัดรอบเป็นแม่เหล็กครับ

  • @chaturonsr1300
    @chaturonsr1300 Жыл бұрын

    Vr นี้สามารถใช้ไฟออกไปเลี้ยงขาเกจของไทรเเอคเพื่อลดเพิ่มเลี้ยงฮีตเตอร์คววามร้อน ของเครื่องทำน้ำอุ่นใก้มั้ยครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ใช้ได้ครับ แต่ต้องระมัดระวังในการใช้ และควรเลือกสเปค VR ดี ๆ ครับ และมีรูปแบบการต่อไม่เหมือนกับในคลิ๊ปนี้นะครับ คลิ๊ปนี้เป็นการต่อสำหรับไฟ DC ผมแนะนำดูคลิ๊ปตามลิ้งค์นี้เพิ่มเติมครับ น่าจะต่อยอดได้ครับ kzread.info/dash/bejne/dXmbt8GnkrW4c6w.html image.makewebeasy.net/makeweb/0/EeZNluzYD/Document/FK415TE_1_A3.pdf

  • @chunatechainat5121
    @chunatechainat5121 Жыл бұрын

    สอบถามครับควรใช้ vr กี่ k ใช้กับกล่องควบคุุมมอเตอร์dcบัสเลส72v1500w

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ผมยังไม่เคยทดลองงานสเกลใหญ่แบบนี้ครับ กำลังสูงแบบนี้ต้องศึกษาต่อยอดเพิ่มครับ ฝากติดตามครับผม เดี๋ยวเราเอาไว้ทดลองไปด้วยกันครับ ขอบคุณมากๆ ครับ

  • @the4kcar664
    @the4kcar664 Жыл бұрын

    ถ้าไม่ต่อทั้ง3ขาใช้ได้ไหมครับหรือต้องต่อให้ครบ3ขาตลอด

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ต้องต่อให้ครบ สามขา ครับ นั่นคือสาเหตุที่ผู้ผลิตทำมาให้ เพราะตัวต้านทานปรับค่าได้ นิยมใช้ในเรื่องของการปรับแรงดัน แต่ถ้าเราต่อลักษณะแค่ 2 ขา มันจะสามารถปรับลดความต้านทาน เพื่อลดกระแสเท่านั้น (แรงดันจะไม่ลด) ประมาณนี้ครับ คุณลองดูคลิ๊ปนี้ครับ เป็นการประยุกต์การใช้งาน จะได้เห็นภาพชัดขึ้นครับ kzread.info/dash/bejne/mqeXs5OjY925ZKQ.html

  • @bounnackphilayvanh5111
    @bounnackphilayvanh5111 Жыл бұрын

    อาจารย์ครับ100k_500kก็มีครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ครับผม มีหลายค่าเลยครับ

  • @armspower2420
    @armspower24202 жыл бұрын

    มีช่องทางติดต่อพูดคุยไหมครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    2 жыл бұрын

    แอ๊ดไลน์ เบอร์ 0928099388 ได้ครับผม

  • @lleldarll8423
    @lleldarll8423 Жыл бұрын

    ของผมมีตัว B500K มันมีหน้าหลัง 6 รวมขา ผมสามารถต่อแค่ แถบ 3 ขาหน้าได้ไหมครับ จะได้ 500Kไหมครับ จะเอามาคุมความเร็วมอเตอร์เครื่องเจียรเพราะตัวเก่าที่เสียมันมีแค่ 3 ขา พอซื้อมาใหม่ได้มา 6 ขาครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    แบบ 6 ขา เป็นแบบสองชั้นครับ เลือกใช้ชั้นใดชั้นหนึ่งได้ ชั้นละ 3 ขา สามารถต่อแค่ 3 ขาหน้าได้ครับ อีกชั้น พับเก็บดี ๆ ครับ ทำงานเหมือนกันครับ (วางให้รูปแบบเหมือนตัวเดิมนะครับ)

  • @lleldarll8423

    @lleldarll8423

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆครับ🙏🙇

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    แบบนี้ต้อง diy ต่อสายเอาครับ หาจุดยึดให้ได้ก่อน แล้วต่อสายไปที่รูเดิมครับขอให้ต่อเหมือนเดิมก็พอ

  • @user-io1wf2mx1e
    @user-io1wf2mx1e2 жыл бұрын

    ถ้าเรามีvrค่า100kถ้าเอาต้วต้านทานมาต่อขนานค่ากับvrค่าจะลดลงได้มั้ย

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    2 жыл бұрын

    ถ้าต่ออนุกรม ค่า I ลดลงครับ I = V/R ------- R คือนับรวมค่าความต้านทานทั้งหมดครับ ถ้าต่อขนานจะได้ ค่า I มากขึ้นครับ เพราะถือว่าเป็นการแยก Chanel แต่ V ที่ออกมาจะไม่ตรงกัน ผมยังไม่ได้ลองในส่วนนี้ครับ ลองหน่อยก็ดีครับ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันไปครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    2 жыл бұрын

    วันนี้จะมีคลิ๊ปออกใหม่ 1 คลิ๊ปครับ จะพูดเรื่องนี้ด้วย ไว้รับชมกันครับ

  • @user-tq3dv2oh7r
    @user-tq3dv2oh7r Жыл бұрын

    เอาไปใช้กับวงจรไฟเลี้ยวได้ไหมครับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    รบกวนดูให้จบค่อยนำไปทำตามนะครับ ต้องใช้ Transistor หรือ mosfet ช่วยจ่ายกระแสนะครับ ไม่อย่างนั้นตัว VR จะไหม้นะครับ

  • @user-js3cs4rf4n
    @user-js3cs4rf4n Жыл бұрын

    50kไช้แทน5k ได้ใหมคับ ตู้ลากผมวอลุ่มเพี่มเสียงมากับเคื่อง5kพังบ่อยมาก ผมว่าจะเปี่ยน50แทนได้ใหมคับ ช่วยแนะนำผมด้วย ขอบคุนคับอาจาร์

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ใช้ 5K ดีกว่าครับ แต่เสริมขากลางไปอีก 200โอห์ม ก็ได้ครับ เพราะเวลาเราเร่งสุด ค่า R1 มันจะเหลือ 0โอห์ม (ขากลางอย่าเพิ่งเอาลงวงจร เอามาต่ออีก 200 โอห์ม แล้วค่อยเอาไปลงวงจรครับ) ลองดูวิธีนี้ครับ

  • @user-js3cs4rf4n

    @user-js3cs4rf4n

    Жыл бұрын

    @@CoreComCenter ขอบคุนคับ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    เอา 100 โอห์ม หรือ 200 โอห์ม เสริมไปอีกครับ น่าจะเกิดการดึงกระแสเยอะเวลาเราเลื่อนสุด หน่วงด้วยตัวต้านทานอีกสักตัวนะครับ ดูวงจรเก่าเขาด้วยครับ ฝากติดตามครับผม

  • @chanjitniyom1187
    @chanjitniyom1187 Жыл бұрын

    100kใช้แทน50kได้ไหมคัฟ

  • @CoreComCenter

    @CoreComCenter

    Жыл бұрын

    ใช้ได้ครับ แต่จะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันครับ เพราะค่ากระแสไปไบอัสทรานซิสเตอร์จะต่ำลงครับ

  • @chanjitniyom1187

    @chanjitniyom1187

    Жыл бұрын

    @@CoreComCenter ขอบคุนคัฟ

Келесі