ELECTECH_88

ELECTECH_88

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น และ การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ดี เสีย การใช้มัลติมิเตอร์ การอ่านค่าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ คาปาซิเตอร์ ตัวเก็บประจุ วัด ไอซี วัด มอสเฟต วัด SCR วัด ไตรแอค วัด IGBT วัด ไอจีบีที วัด ทรานซิสเตอร์ วัดหาขา ทรานซิสเตอร์ วัด ซีเนอร์ ไดโอด วัด ไดโอด วัดวาริสเตอร์ Varistor วัด NTC เทอมิสเตอร์ Thermistor การใช้มัลติมิเตอร์ วิธีใช้มัลติมิเตอร์วัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ Multimeter ทดสอบพัดลมระบายความร้อน 12VDC พัดลมคอม พัดลม 2 สาย 3 สาย 4 สาย พัดลม DC

Пікірлер

  • @aonetree8466
    @aonetree84668 сағат бұрын

    ดึครับอ.จารย์ทุกวันนี้ลำโพงได้รับความนิยมมากโดยเฉพาะยี้ห้อjbl

  • @nuttichatclassdchanal4549
    @nuttichatclassdchanal454910 сағат бұрын

    มาให้กำลังใจครับ สู้ๆๆ

  • @electech_8889
    @electech_88899 сағат бұрын

    ขอบคุณมากครับ ทุกวันนี้คนลาจากวงการนี้ไปเยอะนะ .... วันหยุดยาวนี้ขอให้มีเวลาพิเศษ

  • @sitlikit7622
    @sitlikit762212 сағат бұрын

    40w 75โอร์ม หายากครับเอาค่าโอร์มไกล้เคียงแทนได้มั้ยครับ แต่ค่าที่ตรงจะมีแบบเคสหุ้มอลูมิเนีบมคุณสมบัติเหมือนกันมั้ยเอามาใช้แทนกันได้มั้ยครับ

  • @electech_8889
    @electech_88899 сағат бұрын

    75 Ohm เป็นค่าโอห์มต่ำ ข้างในจะเป็นเส้นลวด (ไวร์วาวด์ ) และ แบบเคสหุ้มอลูมิเนียมข้างในก็จะเป็นเส้นลวดไวร์ววด์เช่นกัน อันดับแรกถ้ามีค่าโอห์มตรงเลือกค่าโอห์มตรงไว้ก่อนครับ รูปแบบภายนอกไม่มีปัญหาถ้ามีพื่่นที่ติดตั้งพอ

  • @user-uq2ok2vr7h
    @user-uq2ok2vr7hКүн бұрын

    มอสเฟส สวิชชิ่งสปีดและดีเลตติ้ง คืออะไรครับ

  • @สุพรรณอภิบุลย์สุวรรณ์
    @สุพรรณอภิบุลย์สุวรรณ์2 күн бұрын

  • @electech_8889
    @electech_88892 күн бұрын

    ขอบคุณที่ดูคลิบ มีรวมเรื่อง C ตัวเก็บประจุ ไว้ใน Playlsit ของช่อง มี 50 เรื่อง ลองสำรวจดู ขอบคุณ kzread.info/head/PLdcRmbw5ZqKro7gi2TTNbp5QFJhmdF-4f

  • @wutthinanwongsriwan950
    @wutthinanwongsriwan9502 күн бұрын

  • @electech_8889
    @electech_88892 күн бұрын

    ขอบคุณ มีเรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ ในช่อง Playlist ของช่อง มี ดังนี้ www.youtube.com/@electech_8889/playlists 1) รวมเรื่อง R ตัวต้านทานชนิดต่างๆ 2) รวมเรื่อง L ตัวเหนี่ยวนำ คุณสมบัติ 3) รวมเรื่อง C ตัวเก็บประจุ คุณสมบัติ 4) รวมเรื่อง ฟิวส์ ฟิวส์หลอดแก้ว ฟิวส์เซรามิค 5) รวมเรื่อง พัดลมระบายความร้อน พัดลมระบายอากาศ 6) รวมเรื่อง การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยมัลติมิเตอร์ 7) รวมเรื่อง การย้ำสายไฟ หางปลา และ สวิตช์

  • @wutthinanwongsriwan950
    @wutthinanwongsriwan9503 күн бұрын

  • @user-sv5wz1ml4c
    @user-sv5wz1ml4c5 күн бұрын

    ทำคลิปสอน ต่อสาย4pin pwm หน่อยครับ

  • @runkor4551
    @runkor45517 күн бұрын

    ขอบคุณมากๆครับรอคลิปนี้มานานแล้วครับ

  • @electech_8889
    @electech_88897 күн бұрын

    ขอบคุณที่ติดตามและดูคลิบต่างๆ

  • @nuttichatclassdchanal4549
    @nuttichatclassdchanal45497 күн бұрын

    สวัสดีครับพี่

  • @electech_8889
    @electech_88897 күн бұрын

    สวัสดี ช่วงวันหยุดยาวแบบนี้ ค่อยมีเวลาทำกิจกรรมอดิเรกเต็มที่

  • @electech_8889
    @electech_88898 күн бұрын

    เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ ในช่อง มี ดังนี้ ลองสำรวจดู www.youtube.com/@electech_8889/playlists 1) รวมเรื่อง R ตัวต้านทานชนิดต่างๆ 2) รวมเรื่อง L ตัวเหนี่ยวนำ คุณสมบัติ 3) รวมเรื่อง C ตัวเก็บประจุ คุณสมบัติ 4) รวมเรื่อง ฟิวส์ ฟิวส์หลอดแก้ว ฟิวส์เซรามิค 5) รวมเรื่อง พัดลมระบายความร้อน พัดลมระบายอากาศ 6) รวมเรื่อง การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยมัลติมิเตอร์ 7) รวมเรื่อง การย้ำสายไฟ หางปลา และ สวิตช์

  • @electech_8889
    @electech_88898 күн бұрын

    ดูต่อ 200 คลิบ ใน Playlist ของช่องมี มี หัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้ : www.youtube.com/@electech_8889/playlists 1) รวมเรื่อง R ตัวต้านทานชนิดต่างๆ 2) รวมเรื่อง L ตัวเหนี่ยวนำ คุณสมบัติ 3) รวมเรื่อง C ตัวเก็บประจุ คุณสมบัติ 4) รวมเรื่อง ฟิวส์ ฟิวส์หลอดแก้ว ฟิวส์เซรามิค 5) รวมเรื่อง พัดลมระบายความร้อน พัดลมระบายอากาศ 6) รวมเรื่อง การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยมัลติมิเตอร์ 7) รวมเรื่อง การย้ำสายไฟ หางปลา และ สวิตช์

  • @electech_8889
    @electech_88899 күн бұрын

    ดูต่อ 200 คลิบ ใน Playlist ของช่องมี มี หัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้ www.youtube.com/@electech_8889/playlists 1) รวมเรื่อง R ตัวต้านทานชนิดต่างๆ 2) รวมเรื่อง L ตัวเหนี่ยวนำ คุณสมบัติ 3) รวมเรื่อง C ตัวเก็บประจุ คุณสมบัติ 4) รวมเรื่อง ฟิวส์ ฟิวส์หลอดแก้ว ฟิวส์เซรามิค 5) รวมเรื่อง พัดลมระบายความร้อน พัดลมระบายอากาศ 6) รวมเรื่อง การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยมัลติมิเตอร์ 7) รวมเรื่อง การย้ำสายไฟ หางปลา และ สวิตช์

  • @electech_8889
    @electech_88899 күн бұрын

    ดูต่อ 200 คลิบ ใน Playlist ของช่องมี มี หัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้ www.youtube.com/@electech_8889/playlists 1) รวมเรื่อง R ตัวต้านทานชนิดต่างๆ 2) รวมเรื่อง L ตัวเหนี่ยวนำ คุณสมบัติ 3) รวมเรื่อง C ตัวเก็บประจุ คุณสมบัติ 4) รวมเรื่อง ฟิวส์ ฟิวส์หลอดแก้ว ฟิวส์เซรามิค 5) รวมเรื่อง พัดลมระบายความร้อน พัดลมระบายอากาศ 6) รวมเรื่อง การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยมัลติมิเตอร์ 7) รวมเรื่อง การย้ำสายไฟ หางปลา และ สวิตช์

  • @electech_8889
    @electech_88899 күн бұрын

    ดูต่อ 200 คลิบ ใน Playlist ของช่องมี มี หัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้ www.youtube.com/@electech_8889/playlists 1) รวมเรื่อง R ตัวต้านทานชนิดต่างๆ 2) รวมเรื่อง L ตัวเหนี่ยวนำ คุณสมบัติ 3) รวมเรื่อง C ตัวเก็บประจุ คุณสมบัติ 4) รวมเรื่อง ฟิวส์ ฟิวส์หลอดแก้ว ฟิวส์เซรามิค 5) รวมเรื่อง พัดลมระบายความร้อน พัดลมระบายอากาศ 6) รวมเรื่อง การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยมัลติมิเตอร์ 7) รวมเรื่อง การย้ำสายไฟ หางปลา และ สวิตช์

  • @electech_8889
    @electech_88899 күн бұрын

    ดูต่อ ใน Playlist ของช่องมี 200 คลิบ มี หัวข้อต่างๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้ www.youtube.com/@electech_8889/playlists 1) รวมเรื่อง R ตัวต้านทานชนิดต่างๆ 2) รวมเรื่อง L ตัวเหนี่ยวนำ คุณสมบัติ 3) รวมเรื่อง C ตัวเก็บประจุ คุณสมบัติ 4) รวมเรื่อง ฟิวส์ ฟิวส์หลอดแก้ว ฟิวส์เซรามิค 5) รวมเรื่อง พัดลมระบายความร้อน พัดลมระบายอากาศ 6) รวมเรื่อง การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ด้วยมัลติมิเตอร์ 7) รวมเรื่อง การย้ำสายไฟ หางปลา และ สวิตช์

  • @Nadontokpla
    @Nadontokpla10 күн бұрын

    วิทยุเวลาหมุนหาคลื่นสัญญาณรบกวนมากแก้ตรงไหนครับหรือเปลี่ยนตัว r ทั้งหมดเลยครับ

  • @Nadontokpla
    @Nadontokpla10 күн бұрын

    เอามาใช้แท่นกันไดใหมครับ

  • @electech_8889
    @electech_888910 күн бұрын

    ได้บางวงจรครับแต่บางวงจรใช้แทนกันไม่ได้เลย ให้สังเกตใน 1 แผงวงจรจะมี R หลายชนิดอยู่ตามจุดต่างๆจะเลือกใช้ R ชนิดไม่เหมือนกัน

  • @Nadontokpla
    @Nadontokpla10 күн бұрын

    ครับ

  • @user-it5dp2ss6g
    @user-it5dp2ss6g11 күн бұрын

    ขอบคุณครับ C ดังรูป ทำจากวัสดุใด ครับ มันเสื่อมจากสาเหตุใดบ้าง

  • @electech_8889
    @electech_888910 күн бұрын

    จากเอกสารโรงงานบอกว่า เป็น เมตัลไลช์ โพลีโพรไพลีน ( Metallized polypropylene (MPP) film capacitor ) ใช้กับไฟ AC ส่วนมากจะเป็น โพลีโพรไพลีน ครับ ตัวที่ทำให้ C เสิ่อมมีหลายอย่างหลัก ๆ คือ 1) ความร้อนเกินทำให้วัสดุเสื่อมสภาพเร็วกว่าปกติ เป็นตัวเร่งเสื่อมอันดับแรกๆ ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เลย 2) ไฟกระชากที่เกิดตัววงจรของอุปกรณ์เองหรือมาจากส่วนอื่นๆ 3) การสูญเสียภายในเกิดจากเกรดของวัสดุ และเทคนิคการเชื่อมต่อขาโลหะด้านใน(มองไม่เห็น ) ข้อ 1 เป็นความร้อนจากสิ่งแวดล้อมภายนอก ส่วนข้อ 3 เป็นความร้อนที่อยู่ด้านในตัว C เอง

  • @user-it5dp2ss6g
    @user-it5dp2ss6g11 күн бұрын

    อ ครับ แคปรัน ที่ใช้กับพัดลมคอยล์ร้อนของแอร์ ทำมาจากวัสดุอะไร คับ

  • @electech_8889
    @electech_888910 күн бұрын

    ใช้งานกับแอร์จะเป็น C เกรดใช้งานหนัก Heavy duty CBB65 นิยมใช้ Polypropylene Film Capacitor ซึ่งมันจะต่างจาก C ที่ใช้งานกับพัดลม C ที่ใช้กับพัดลมมีโอกาสใกล้คนเวลามันทำงานจึงมีรายละเอียดมาตรฐานความปลอดภัยที่ต่างกัน คือวงจรหรืออุปกรณ์ใกล้คนจะเน้นความเป็นฉนวนสูงมาก

  • @user-it5dp2ss6g
    @user-it5dp2ss6g9 күн бұрын

    @@electech_8889 ขอบคุณครับ

  • @nonthachaisodamak8240
    @nonthachaisodamak824013 күн бұрын

    ต้องการซื้อครับผม

  • @electech_8889
    @electech_888913 күн бұрын

    ขอบคุณที่เม้น ผมไม่ได้ขายครับ แนะนำหาจากแอ้บสีแดง มีเยอะมากมีหลายร้านให้เลือก C แบบนี้มีขายที่ร้านอะไหล่เครื่องใช้ไฟฟ้าใกล้ๆบ้าน เช่น ในตัวอำเภอมีหมดทุกที่ครับ ไปดูของได้เลยหน้าร้าน

  • @nonthachaisodamak8240
    @nonthachaisodamak824013 күн бұрын

    ต้องการซื้อสินค้าครับผม

  • @nonthachaisodamak8240
    @nonthachaisodamak824013 күн бұрын

    ราคาเท่าไหร่ครับผม

  • @boonkerdlawonyavuth3077
    @boonkerdlawonyavuth307718 күн бұрын

    ซ้ำไปซ้ำมา ไ ม่ไปไหน

  • @electech_8889
    @electech_888918 күн бұрын

    ขอบคุณที่แสดงความเห็น ใช่แล้ว ช่องนี้จะทำเฉพาะอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานเท่านั้น จะไม่ทำแนวอื่นๆที่ใช้เวลาและกินเวลางานประจำมาก ช่องอื่นๆก็จะมีแนวทางของแต่ละช่อง ใน KZread ก็จะมีให้เลือกดูหลากหลายแนวอยู่แล้ว ตามสไตล์ของแต่ละช่อง

  • @saengchaivanasirikul3483
    @saengchaivanasirikul348318 күн бұрын

    เราจะมีการคำนวณอย่างไร ว่าวงจรที่เรามีอยู่ควรจะใช้ L หรือ C ค่าเท่าไหร่ ครับ ขอบคุณครับ

  • @electech_8889
    @electech_888917 күн бұрын

    จะมีสูตรคำนวณครับ ตั้งแต่สูตรง่ายๆ จนถึงสูตรที่ซับซ้อนต้องแก้สมการ ตัวอย่างพื้นฐาน เช่น การแยกความถี่เสียง แยกเสียงทุ้มเสียงแหลมให้ลำโพง โดย L จะปล่อยให้ความถี่ต่ำผ่านไปยังลำโพงซับวูฟเฟอร์ที่เป็นเสียงทุ้ม ส่วนความถึ่สูงจะถูก L กั้นไม่ให้ผ่าน ค่า L นี้ได้มาจากการคำนวณตามสูตร สามารถค้นดูสูตรได้ในเน็ต ....ส่วน C เสียงความถี่ต่ำจะผ่านไปไม่ได้แต่เสียงความถี่สูงจะผ่านไปได้ จึงใช้ C เป็นตัวแยกความถี่เสียงสูงเสียงแหลมให้ลำโพงทวิตเตอร์ ( ลำโพงเสียงแหลม) ขึ้นอยู่กับวงจรจะมีสูตรคำนวณเฉพาะ การทำงานของ L จะเกี่ยวข้องกับความถึ่ ในสูตรจะมีค่าความถี่

  • @electech_8889
    @electech_888920 күн бұрын

    ดูคลิบ อื่นๆ ที่น่าสนใจใน KZread และ เกี่ยวข้องต่อ ดังนี้ 1). การเลือกใช้งานตัวต้านทาน R แบบต่างๆ kzread.info/dash/bejne/hoWVqcd9erPAdJs.html 2). การใช้งาน คาปาซิเตอร์ และ ตัวเหนี่ยวนำ ดูแค่ค่าความจุ ค่าความเหนี่ยวนำ ไม่ได้ kzread.info/dash/bejne/hHd5vNCagsbPgLw.html 3). ตัวเก็บประจุชนิดฟิล์มที่สำคัญ ที่มีการใช้งานมากถึง 90% kzread.info/dash/bejne/q2dnxcGAn7DYgZc.html

  • @nuttichatclassdchanal4549
    @nuttichatclassdchanal454920 күн бұрын

    สวัสดีครับพี่

  • @electech_8889
    @electech_888920 күн бұрын

    สวัสดีครับ ขอบคุณที่มาดูคลิบใหม่ๆ

  • @maxdragon9197
    @maxdragon919725 күн бұрын

    ใช้ฟังเพลงแนว acoustic ดีไหมพี่

  • @electech_8889
    @electech_888925 күн бұрын

    ดีเลยครับ แยกแยะชิ้นดนตรีได้ดี เสียงใส เสียงร้องก็ดี เล็กสบายหูแต่ดังดี ฟังดูจะรู้สึกมีความแตกต่างจากตัวอื่นๆที่เป็นตัวเริ่มต้นนะ ตัวนี้เป็นรุ่นกลางเจาะจงผลิตเพื่อ Smart phone และ ราคาไม่แรงเพื่อมหาชน ลองเอาชื่อรุ่นไปค้นดูรีวิวต่างประเทศนะมีคนชมเยอะ และ ยอดนิยมในต่างประเทศ ปล. ผลไม่ได้ใช้หลายปีแล้วเนื่องจากมือถือรุ่นใหม่ๆมันตัดช่องเสียงหูฟังเลยใช้แบบไร้สายแทน

  • @maxdragon9197
    @maxdragon919724 күн бұрын

    ​@@electech_8889ขอบคุณมากเลยครับ❤

  • @wisoninthavises5857
    @wisoninthavises585727 күн бұрын

    เยี่ยมมาก ทำให้เข้าใจมากขึัน ขอบคุณมากครับ

  • @electech_8889
    @electech_888926 күн бұрын

    ขอบคุณครับ ที่ดูคลิบในช่องนี้

  • @oaccca
    @oaccca27 күн бұрын

    ทำไมหลอด60ถึงสว่างกว่าในแบบอนุกรมหรอคับพี่ๆ ช่วยบอกที

  • @electech_8889
    @electech_888927 күн бұрын

    อธิบายได้ด้วย 2 ตัวแปรนี้ครับ คือ แรงดัน และ กำลัง ไฟฟ้าที่เกิดจริงตอนต่อวงจร คุณสมบัติของวงจรอนุกรม คือแบ่งแรงดัน ไฟ 220Vac เข้ามา แรงดันส่วนใหญ่จะตกคร่อมที่หลอด 60W มีกำลังไฟฟ้าเกิดจริงที่หลอดนี้มากกว่า ( เนื่องจากหลอด 60W นี้มีความต้านทานมากกว่าอีกหลอด ) ขณะที่หลอด 100W มีแรงดันตกคร่อมน้อยกว่า แรงดันที่น้อยกว่านี้และกระแสไม่มากพอที่จะทำให้มันร้อนเปล่งแสง ทำงานเต็มที่และตามพิกัด คือมันต้องการพลังงานมากเพื่่อทีจะงานเต็มที่ตามสเปคกำลังวัตต์แต่พลังานที่ได้มาไม่พอ ( แรงดันแบ่งกัน และ ความต้านทานรวมของวงจรอนุกรมจะเพิ่มขึ้นด้วยทำให้กระแสรวมจะลดลง )

  • @nuttichatclassdchanal4549
    @nuttichatclassdchanal454927 күн бұрын

    สวัสดีครับพี่

  • @electech_8889
    @electech_888927 күн бұрын

    สวัสดี ขอบคุณที่เม้นต์คลิบแรก และ อยู่กับ KZread

  • @user-pq1jx9ft3s
    @user-pq1jx9ft3s28 күн бұрын

    ขาด 'Feed-Through Capacitors' สำหรับ สัญญาณรบกวน

  • @electech_8889
    @electech_888928 күн бұрын

    ขอบคุณครับ สามารถเพิ่มเติมข้อมูลได้ เพื่อให้เนื้อหาครบมากขึ้น

  • @intelonsleya
    @intelonsleya29 күн бұрын

    สมมติว่า ไดโอดเสีย เราจะซื้อมาเปลี่ยน จะรู้ได้ยังไงว่า ไดโอดกี่ V มีวิธีดูไหมคับ

  • @chinnakornsukthai4963
    @chinnakornsukthai4963Ай бұрын

    กรณีที่สายไฟเป็นสีดำทั้งหมด รู้แต่สาย +/- แต่จะหาสายวัดรอบกับสายควบคุม ก็เอาอีก 2 เส้นมาแตะกับขั้วลบเหมือนในคลิปถูกไหมครับ

  • @electech_8889
    @electech_8889Ай бұрын

    เคสตามที่แจ้งมา เป็นสีดำทั้ง 2 สาย กรณีนี้ยังไม่เคยลอง คิดว่าเป็นเซนเซอร์แบบอื่นๆที่ไม่ใช่แบบในคลิบครับ ปกติพัดลมแบบมาตรฐานทั่วไปมันจะมีสีสายไฟแตกต่างกันเพื่อระบุหน้าที่สายไว้เลย ..... กรณีเจอเคสแปลก ๆ แบบนี้ ให้ทำดังนี้ .... 1) ให้เอารุ่นพัดลมไปเช็คข้อมูลใน Datasheet ก่อนว่ามันเป็นเซนเซอร์แบบไหน เพื่อให้ชัวร์ 2) ต่อ R ค่าสูงๆก่อนแตะลองเวลาสั้นๆวินาที เพื่อป้องกันวงจรข้างในไว้ก่อน ( เช่นค่า 10K 15K 20K เป็นต้น ตาม ค่า ที่มี ) 3) หลังจากได้ข้อมูลในข้อ 1) อาจใช้มิเตอร์วัดโอห์มทดสอบการช๊อต / การขาดประกอบได้ไหม ? โดยให้ตั้งมิเตอร์ย่านวัดสูงๆ ไว้ก่อน ป้องกันกระแสไฟ mA ทดสอบจากมิเตอร์เข้าไปสายพัดลมเยอะไป ปกติพวกสาย Sensor พัดลมเขาห้ามเอาไฟเข้าเกิน 1.5mA วงจรข้างในจะเสียหาย เพราะสาย Sensor ทำหน้าที่เพียงจ่ายสัญญาณไฟต่ำๆ ออกมา

  • @chinnakornsukthai4963
    @chinnakornsukthai49632 күн бұрын

    ถามอีกเรื่องครับ ถ้าต้องการให้พัดลมหมุนแรงขึ้นกว่าเดิม โดยพันขดลวดเบอร์ใหญ่กว่าของเดิมได้ไหมครับ แล้วต้องเปลี่ยนแม่เหล็กหรือพวก IC ในบอร์ดด้วยไหมครับ

  • @natpat_41
    @natpat_41Ай бұрын

    ตัวเก็บประจุแบบในรูปทำไมผมจ่ายไฟAC แล้วมันวัดค่าแรงดันกับกระแสไม่ขึ้นอะครับ ขึ้นอยู่กับประเภทของตัวเก็บประจุที่ใช้หรือเปล่าครับ

  • @ChanelTechnician
    @ChanelTechnicianАй бұрын

    😊

  • @user-nq1sc3sb9w
    @user-nq1sc3sb9wАй бұрын

    ทำไมมันไม่ขนานกันทั้งสามตัว

  • @electech_8889
    @electech_888917 күн бұрын

    เขาได้ทดลอง / พิสูจน์ และสรุปออกมาเป็นหลักการแล้วครับว่า โมเดลการต่อที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุดจะเป็นโมเดลแบบในคลิบ ( คือไม่ได้ขนานกันทั้ง 3 ตัว ) ซึ่งมันสามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้ถูกต้อง ดังนั้นเวลาเขาอธิบายคุณสมบัติของ R เกี่ยวกับความถี่ เขาจะใช้โมเดลนี้

  • @electech_8889
    @electech_8889Ай бұрын

    สรุป ...... ข้อมูลตัวเลขความถี่จากเวป Analog Applications Engineer­-24 - R ชนิดไวร์วาวด์ใช้ได้ไม่เกิน 50KHz เน้นใช้กับความถี่ต่ำ และ งาน Power เป็นหลัก - R ชนิดฟิล์มโลหะ ( Metal Film ) ใช้กับความถี่สูง ไม่เกิน ประมาณ 100 MHz - R ชนิดคาร์บอน ใช้กับความถี่ต่ำ ไม่เกิน 1 MHz - R ชนิดฟิล์มคาร์บอน ( Carbon Film ) ใช้กับความถี่ต่ำ ไม่มีตัวเลขความถี่ระบุ แต่เส้นแถบฟิล์มคาร์บอนที่อยู่ด้านในก่อให้เกิดค่า L มากกว่าชนิดคาร์บอนเสียอีก ดังนั้นน่าจะใช้ได้กับความถี่ Hz KHz ค่อนมาทางต่ำ ค่าโอห์มสูง ๆ ยิ่งมีค่า L สูงตามไปด้วยเนื่องจากมีเส้นแถบฟิล์มยาวกว่าและมีจำนวนเกลียวเยอะกว่าค่าโอห์มต่ำ Note : ถ้าเน้นใช้งานความถี่สูง ควรเลือก R แบบ SMD เพื่อลดผลกระทบจากค่า L

  • @user-pq1jx9ft3s
    @user-pq1jx9ft3sАй бұрын

    Metal Oxide Film Resistor ไม่ควรใช้กับสัญญานความถี่สูง หรือ สัญญาน Pulse เพราะเปรียบเสมือน Coil

  • @user-qy1co1yl1h
    @user-qy1co1yl1hАй бұрын

    ข้าผู้น้อยด้อยปัญญาขอฝากเนื้อฝากตัว เป็นลูกศิษย์อาจารย์ด้วย

  • @electech_8889
    @electech_8889Ай бұрын

    ขอบคุณที่ดูคลิบนี้ มิได้เป็นอาจารย์สอนตามอาชีวะจึงมิกล้าเป็นอาจารย์ครับ เพียงแต่เคยเรียนอิเล็กทรอนิกส์มา

  • @electech_8889
    @electech_8889Ай бұрын

    R ทนความร้อน ( Metal Oxide Film Resistor ) คุณสมบัติ ตัวต้านทานทนความร้อน - ทนโอเวอร์โหลด ทนกระแสเสิร์จได้ดีกว่า R ชนิดฟิล์มโลหะ จีงนิยมใช้ R ทนความร้อน จุดที่มีกระแสเสิร์จ ไฟกระชาก - ใช้งานพาวเวอร์และวัตต์ที่สูงกว่า R ชนิด ฟิล์มโลหะ - ทนความร้อนได้ดี ทนได้ใกล้เคียงชนิดไวร์วาวด์ แต่ทนกว่า R ชนิด ฟิล์มโลหะ จีงนิยมใช้จุดที่มีความร้อน - สัญญาณรบกวนต่ำ 0.2 µV/V ใกล้เคียงกับแบบฟิล์มโลหะ - มีความเสถียรต่อแรงดัน มีสัมประสิทธิ์แรงดันต่ำ คือ ค่า R ไม่เปลี่ยนไปตามแรงดันที่ป้อน ( Low voltage coefficient ) จึงใช้กับแรงดันได้ดี - มีราคาถูกกว่าชนิดไวร์วาวด์ เนื่องจากมีกระบวนการผลิตที่ง่ายกว่า แต่ราคาก็จะสูงกว่า R ชนิด ฟิล์มโลหะ ข้อเสียของ ตัวต้านทานทนความร้อน - มี % คาดเคลื่อนสูงกว่า และ มีสัมประสิทธิ์อุณหภูมิสูงกว่า R ชนิดฟิล์มโลหะ R ทนความร้อน 200 PPM 300 PPMM 350 PPM ( มีหลายสเปค ) เช่น 2% 5% 10% ส่วน R ชนิดฟิล์มโลหะ 20 PPM 50 PPM 100 PPM ( มีหลายสเปค ) เช่น 0.1% 1% 2% 5% - การนำ R ทนความร้อน ไปใช้งาน จากเอกสารผู้ผลิต R ทนความร้อนชั้นนำหลายๆที่ จะอธิบายเน้นหนักและแนะนำ ให้ใช้กับงานพาวเวอร์ ใช้แทนตัวต้านทานชนิดไวร์วาวด์ ใช้กับวงจรพาวเวอร์ ( Power Application ) , Line protection ใช้กับวงจรส่วนที่เป็นไฟ AC ซึ่งเป็นความถี่ต่ำ เป็นต้น นี้จึงเป็นการนำไปใช้งานหลักๆของมัน ไม่พบการบรรยายถึงด้านความถี่สูงเลยในเอกสาร มีเพียงข้อมูลบางส่วนที่บอกว่ามันมีค่า L ต่ำ Low lnductance and Low Noise ตัวฟิล์มออกไชต์มีความเป็นเนื้อเดียวกันสูง ( Uniform ) เมื่ออิเล็กตรอนไหลมันเกิดการชนกันน้อยจึงมีสัญญาณรบกวนน้อย

  • @user-pq7wp9wv6q
    @user-pq7wp9wv6qАй бұрын

    Igbtสองแบบนี้ที่มีไดโอมค้อมกับไม่มีไดโอด มันใช้ร่วมกันได้ไหมคับ พอดีผมจะเปลี่ยนให้ตุ้เชื่อม เปิดด้าต้าชีสดู ของเดิมมีไดโอดค้อมยุแต่ของที่จะเอามาเปลี่ยนไม่มีไดโอดค้อม มันใช้แทนกันได้ไหมครับ

  • @electech_8889
    @electech_8889Ай бұрын

    ขอบคุณที่ดูคลิบ.....ไม่ได้ครับ ต้องใช้แบบที่มีไดโอดตามแบบเดิมเท่านั้น ไดโอดเป็นตัวป้องกัน IGBT จากแรงดันสูงให้ IGBT และอุปกรณ์ตัวอื่นๆที่อยู่รอบๆ ถ้าใส่ไปไม่ตรงของเก่่าไม่นานมันจะเสียและอาจเสียหนักกว่าเดิมเพราะมันลามไปตัวอื่นๆ รอบๆ

  • @sunsezz5306
    @sunsezz5306Ай бұрын

    ในคลิปวิดีโอ ใช้ ZD เบอร์อะไรคะ

  • @electech_8889
    @electech_8889Ай бұрын

    ตอนนั้นซื้ออะไหล่ของใหม่มาวัดเป็นตัวอย่าง จำได้เพียงว่าเป็นเบอร์ ZD ที่ต่ำกว่า 3V และ เบอร์ที่มากกว่า 3V เพราะมันจะทำให้เข็มมิเตอร์ขึ้นต่างกันเป็นผลจากแรงดันไบอัสของตัวมิเตอร์ ( ส่วนเบอร์จริงๆของ ZD จำไม่ได้แล้วครับ ตอนนี้หาของไม่เจอแล้ว ) เอาเบอร์อะไรก็ได้ที่มีแรงดัน ZD ต่ำกว่า 3V และสูงกว่า 3V ครับ

  • @sunsezz5306
    @sunsezz5306Ай бұрын

    @@electech_8889 ขอบคุณค่า

  • @MarrSangwa
    @MarrSangwaАй бұрын

    สุดยอดเลยคับอาจารย์ ขอบคุณมากคับ

  • @bynakata1295
    @bynakata1295Ай бұрын

    ขอบคุณมากครับอาจารย์❤❤

  • @nuttichatclassdchanal4549
    @nuttichatclassdchanal4549Ай бұрын

    สวัสดีครับพี่

  • @electech_8889
    @electech_8889Ай бұрын

    สวัสดี นักเล่น Class D ขอบคุณที่เม้นแรกๆ

  • @akaradechritmai586
    @akaradechritmai586Ай бұрын

    โชคดีสมัยนี้มียูทูปเพราะสมัยเรียนบอกตรงไ่รู้เรื่องเลย

  • @electech_8889
    @electech_888917 күн бұрын

    ยุคนี้การเรียนการสอนและสื่อประกอบการสอนดีกว่ายุคก่อนเยอะครับ หาที่เรียนง่ายด้วย เป็นไปตามยุคสมัย ผมก็คนยุคเกือบเก่า แต่โชคดีทีมีพื้นฐานอยู่เอาไปต่อยอดหรือกลับมาเรียนรู้เรื่องใหม่ ๆ ได้เสมอ เช่น พวก IOT

  • @tong2959
    @tong2959Ай бұрын

    ผมวัด G กับ K ขึ้นประมาน 40โอมแล้ววัดขา A กับ K ไม่ขึ้นเลยแบบนี้น่าจะเสียมั้บครับ

  • @electech_8889
    @electech_8889Ай бұрын

    ยังไม่แน่ครับ ลองพิจารณาตามนี้คือ ลองใช้การวัดพื่นฐาน ขาด / ซ๊อต ประกอบคือ วัดเช็คการช๊อตระหว่างขา A และ K ดู ซ๊อตไหม ? โดยทั่วไป ขา G กับขา K ได้ค่าความต้านทานต่ำระดับโอห์ม OK ถูกต้องแล้ว ส่วนขา A กับ K ปกติจะวัดได้ค่าความต้านทานสูงมากหลายเมกะ บางเบอร์อาจวัดไม่ขึ้นเลย ให้ตั้งมิเตอร์ย่านวัดโอห์มสูงๆ ( หรือบางที่ค่าโอห์มมันสูงมากเกินที่มิเตอร์จะแสดงได้เลยวัดไม่ขึ้นก็มี คือ SCR ดีอยู่ )

  • @tong2959
    @tong2959Ай бұрын

    ขอบคุณครับไม่ทราบว่าจะติดต่อได้ทางใหนครับถ้าอยากปรึกษารบกวนขอเบอร์ได้มั้ยครับ

  • @SamSam-de5mt
    @SamSam-de5mtАй бұрын

    กราบขอบพระคุณครับอาจารย์โชดดีของคนเรียนมาน้อย

  • @electech_8889
    @electech_8889Ай бұрын

    ขอบคุณที่ดูคลิบนี้ สนับสนุนช่อง