Ivy Academy Bangkok

Ivy Academy Bangkok

Пікірлер

  • @siamthabo
    @siamthaboКүн бұрын

    แบบว่าเรียนจบสถาบันเกรดเอ แต่มองเรื่องโกหกไม่ออก ไม่รังเกียจนักการเมืองคอรัปชั่น มีให้เห็นดาษดื่น

  • @tgboytoby6166
    @tgboytoby61663 күн бұрын

    เมื่อเทียบกับคนอื่นๆด้วยนะครับ เด็กเตรียมยังค้องเรียนกวดวิชา

  • @sukanyapk
    @sukanyapk7 күн бұрын

    👍

  • @areeyasirisopapan4728
    @areeyasirisopapan47287 күн бұрын

    พวกโรงเรียนที่แพงๆเพราะสถานศึกษานั้นๆแค่หาเงินเพราะเป็นการค้าขายเป็นธุรกิจ คนจะเรียนดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับตัวบุคคลว่าตั้งใจเรียนมั้ยขยันอ่านหนังสือมั้ย

  • @sitthinath
    @sitthinath7 күн бұрын

    เหมือนเนื้อเพลงเมดอินไทยแลนด์ เขาไม่ได้หลอกเรากิน ไอ้เรามันหลอกตัวเอง ….เอิ้ง เอิ้ง เอย…..

  • @PibulpatKrai-nq6sr
    @PibulpatKrai-nq6sr8 күн бұрын

    แล้วเด็กประเภทนี้โตมาเป็นใหญ่ ได้ดีหมดในประเทศนี้!! ครูเชื่อผมไหม? สว.ท่านนึงซื้อวุฒิเมืองนอก เขาแฉออกสื่อยังได้รับตำแหน่งเลย

  • @PibulpatKrai-nq6sr
    @PibulpatKrai-nq6sr8 күн бұрын

    ใช่ครับ เห็นด้วยกับอาจารย์ทุกอย่าง พ่อแม่เจน Z สมัยนี้นิยมและให้ค่าวัตถุเป็นหลัก อะไรที่แพงๆจะคิดว่าต้องดีเสมอ หรืออีกนัยเหมือนเป็นการเอาลูกมาอวดอ้างต่อสังคม ใช้ลูกเป็นเครื่องสนองปมในใจของตัวเอง!! ซึ่งน่าสงสารเด็กมาก ที่มีพ่อแม่แบบนี้ แล้วฐานะบางครอบครัวก็ไม่ได้ร่ำรวยเลย เพียงแต่แค่อยากอวดชาวบ้านเท่านั้นว่าลูกชั้นเรียนอินเตอร์ ร.ร.โน้น ร.ร.นี้!!

  • @calgaryedmonton8304
    @calgaryedmonton83049 күн бұрын

    อย่าง Emory , Rice , Vanderbilt , Carnegie Mellon นี่พอสูสีกับ Ivy เปล่าครับ เพราะ Acceptance Rate ใกล้เคียงกันมาก

  • @sanyasiligul2797
    @sanyasiligul27979 күн бұрын

    ลูกผม2คนเรียน ประถมที่วัด ปรินายกฯ มัธยม ที่สามเสน ไม่เรียนพิเศษ ก็เข้า จุฬา ธรรมศาสตร์ และจบ ป.โท ทั้งคู่ เลี้ยงให้เป็นให้เด็กมีความรับผิดชอบต่อตัวเองและส่วนรวม ทุกอย่างเขาก็ทำเองหมด ขึ้น รถเมล์ไป รร.เล่นกิฬาต่างๆตามวัย ภาษา เจอ อจ.ที่ สอนดีก็เก่งภาษาเหมือนกัน ครับมันอยู่ที่ตัวเด็กว่า ช่วงเด็กๆ ครู ประถมป้อนอะไรให้เด็กคิดเป็นทำเป็นแล้วทุกอย่างเขาก็จะสร้างเองครับ

  • @user-eh7ix1oz4n
    @user-eh7ix1oz4n9 күн бұрын

    ให้ลูกเรียนแแอสสัมตั้งแต่เด็กจนถึงป.6วันนึงนึกยัฝไงไม่รู้ลองทดสอบคณิตศาสตร์ดูถึงกับต้องรีบให้ออกจากโรงเรียนด่วนเลย

  • @eploentham
    @eploentham10 күн бұрын

    จำเป็นด้วยหรือที่ต้องสอบเข้าม.ที่เราต้องการ (ตั้งธงแค่ เด็กจบอะไร ทำงานอะไร เราไม่รู้ แค่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเข้มแข็ง แข็งแรง โตขึ้นมาสามารถsetชีวิตของตัวเขาเองได้ พอแล้ว) แล้วคำว่า "สมรรถนะทางการเรียนของลูก" "ทักษะความสามารถที่เขามีนั้นไม่เพียงพอ" ต้องให้ เด็กขยันเรียน เพื่อแข่งกับเด็ก ที่ไหนก็ไม่รู้(ที่คิดไว้ ลูกคนไหน ไปอะไรได้ดี ก็ส่งสุดตีน จริงๆก็เหมือนพ่อแม่คนอื่นๆที่เขาพร้อมทำ กันนะ) ความหมาย โรงเรียนแสนแพง จริงๆน่าจะ -> ความพอใจที่ฉันจ่ายได้ ไม่ได้คิดว่าเรียนแพงๆคือเท่ เพราะมันเป็นเรื่องระยะยาว ต้องจะเจอทุกเทอม ทุกปี มีECA ปิดเทอมมีไปเที่ยว คุณต้องอยู่กับมัน>10ปี ความพอใจที่จ่ายได้ แต่ต้องส่งไปเรียนโรงเรียนรัฐ แล้วภาษาละ กลุ่มเพื่อนละ ถ้าลูก หรือเด็ก สมรรถนะหรือทักษะความสามารถ ของเขาด้อยกว่าจริง ความจะเติมไหม ด้อยกว่าแล้วเป็นยังไง โรงเรียนแสนแพง กับ สมรรถนะหรือทักษะความสามารถ ไม่น่าจะใช่ น่าจะเป็นเรื่อง ความพอใจในการจ่ายมากกว่า น่าจะมีแค่นี้ อยากจะซื้อแค่นี้ อยากจะใช้iPhone ไม่ใช้ MI สิ่งที่ชอบกับโรงเรียนแสนแพง เขาเรียกให้เข้าไปฟังbriefingก่อนเปิดเรียนทุกปี มีEnd of Yearเรียกเราให้เข้าไปฟังว่าลูกเราเป็นยังไง ฟังจากteacherผู้สอนทุกคน เป็นโต๊ะในห้องยิม ผมดูลูกผม ก้าวเท้าเข้าโรงเรียนในวันEnd of Yearของทุกปี ว่าเป็นยังไง ค่าเทอมแสนแพง น่าจะเป็นค่าตัวtecher ค่าความเอาใจใส่ ของคนที่เข้ามาใกล้ชิด กับลูกของเรา(แต่ค่าก่อสร้าง เช่นบ้านเมื่อ15ปีที่แล้วราคา3ล้าน ปีนี้ให้หลังเท่าเดิมต้องมีหลัก10ล้าน)

  • @kraimonmaneesilp138
    @kraimonmaneesilp13811 күн бұрын

    อะไรที่มีแค่ Paper test ห่วยหมด ไม่ว่าจะระดับไหน หรือจากสถาบันมีชื่อแค่ไหนก็ตาม สุดท้ายก็จะมาตายน้ำตื้นพอออกมาทำงานจริง (ซึ่งสถาบันที่มีชื่อ เค้าจะไม่ทำอย่างนั้นอยู่แล้ว) ยุคนี้ อย่ามองแค่ว่า สุดท้ายลูกเราจะไปจบอะไร ที่ไหน จนลืมมองไปว่า ถ้าเกิดอุบัติเหตุขึ้นมาก่อนที่เค้าจะไปถึงจุดนั้น เค้าจะไหวมั้ยยังอยู่ได้รึเปล่า เพราะเดี๋ยวนี้ อุบัติเหตุ มันแรง และมาแบบที่เราไม่ทันตั้งตัวเสมอ

  • @lucca_lee
    @lucca_lee11 күн бұрын

    ส่งเข้าไปเอาสังคมและ connection ค่ะ แต่โรงเรียนอินเตอร์ ค่าเทอม top 10 ในไทยเริซสอนดีทุกโรงเรียน

  • @Lucuziwonder
    @Lucuziwonder11 күн бұрын

    ขอบคุณครับ จะคอยปรึกษา ครู นะครับ🙏

  • @user-pm9bb9og2m
    @user-pm9bb9og2m11 күн бұрын

    เขาเต็มใจให้หรอก เพราะต้องการสร้างภาพว่า ลุูกตัวเอง เก่ง อยุ่ร.รมีระดับ แค่นั้นเอง . วิธีสอบก็เลือกเอาจาก ตัวเลือก 4 - 5 ตัว . คือ มีให้เลือกอยู่แล้ว ไม่ต้องคิดเอง แค่เลือกให้ถูก . ระดับปัญญาอ่.. ก็เข้าเรียนได้ เพราะ จ่ายตังค์แพง .

  • @jantana1234
    @jantana123412 күн бұрын

    ส่งลูกเเข่งขันสนามนอกรร.ทุกปี จะทำให้เห็นภาพรวมว่าลูกเราความรู้เมื่อเทียบกับระดับประเทศเเล้วลูกเราอยู่levelไหนค่ะ

  • @supatchaisrimaneephan7183
    @supatchaisrimaneephan718312 күн бұрын

    พูดน้ำยาว...ไม่เจอเนื้อจนเกือบจบ.

  • @user-pd3zy7zg6s
    @user-pd3zy7zg6s12 күн бұрын

    ในรัฐ Nevada โรงเรียน charter จะมีสอบ NWEA MAP TEST ตั้งแต่อนุบาลอายุ 5 ขวบจะสอบช่วง fall winter และ spring แล้วแต่ละโรงเรียนว่าจะสอบในช่วงไหนเพื่อประเมินผลความรู้ของนักเรียนตั้งแต่ต้นปีจนถึงปลายปี โรงเรียนก็จะประเมินผลเพื่อดูว่านักเรียนควรได้รับ intervention ในเนื้อหาอะไร พอปลาย April หรือต้น May จะสอบ standardized test จะสอบแค่ครั้งเดียว เพื่อดู student performance และ school effectiveness

  • @user-qp4nc1wq1e
    @user-qp4nc1wq1e12 күн бұрын

    ซื้อสังคม

  • @sayiw01
    @sayiw0113 күн бұрын

    เรียนลาดกระบังดีกว่า อาจารย์ จบโตไกเก่งๆทั้งนั้น

  • @workhardplayharder4924
    @workhardplayharder492413 күн бұрын

    ซื้อสังคม

  • @somsrinitta9508
    @somsrinitta950813 күн бұрын

    พูดวนมากคะ เนื้อมีไม่เกินบรรทัดเดียว

  • @supatchaisrimaneephan7183
    @supatchaisrimaneephan718312 күн бұрын

    เห็นด้วยครับ.

  • @0LittleChild0
    @0LittleChild09 күн бұрын

    มากค่ะ ไม่ใช่ มากคะ อีโง่

  • @chatchawanmanin78
    @chatchawanmanin785 күн бұрын

    เราต้องเข้าใจเขาบ้างครับ เขาทำคอนเทน ก็ต้องพูดให้ยาวหน่อย ไม่ใช่แค่พูด 1บรรทัด แล้วจบ

  • @north9854
    @north985414 күн бұрын

    แพง แต่ ห่วย มีจริง …แต่…… ถูก แต่ ดี ไม่มีในโลก (เพราะถ้าของมันดี เค้าไม่โง่ เก็บตังค์ถูกๆหรอก) 🤭🤭🤭

  • @kewintaylor7056
    @kewintaylor705613 күн бұрын

    รร.รัฐ ดีๆ มีเยอะนะ😂 แต่ถ้าเด็ก ไม่ดีเอง ไปเรียนที่ไหน ก็ไม่ต่างกันหรอก😂

  • @jantana1234
    @jantana123412 күн бұрын

    ถูกเเต่ดีมีจริง เเม่สอนเองไม่เสียเงิน เราสอนภาษาอังกฤษลูกเองตั้งเเต่เล็กจนพูดได้100% เมื่อโตขึ้นลูกเรียนรู้พัฒนาภาษาด้วยตัวเองจนมีสำเนียงBritish เเละเตรียมสอบSATด้วยตัวเองจนได้1570/1600 ตอนม.5 ในขณะที่คนสอนยังทักษะภาษาเท่าเดิม พูดสำเนียงไทย ดังนั้นเริ่มต้นภาษาเร็ว ลูกจะสามารถต่อยยอดความสามารถได้ด้วยตัวเองค่ะ ต้องสอนวิธีตกปลาให้ลูกไม่ใช่เอาเเต่ป้อนเหยื่อให้เค้าค่ะ เค้าถึงจะเติบโตด้วยตัวเองได้

  • @kraimonmaneesilp138
    @kraimonmaneesilp13811 күн бұрын

    มีครับ แต่พ่อแม่ต้องไม่โง่ และมีเวลาให้ลูกด้วย ถ้าหาไม่เจอ แสดงว่ายังไม่มีเวลาให้ลูกพอ แล้วพยายามผลักภาระการเรียนรู้ทั้งหมดของลูกให้โรงเรียน (มันก็ผิดตั้งแต่ความคิดตรงนี้แล้ว) แต่แน่นอน โรงเรียนพวกนั้น เข้ายากนิดนึง ไม่ใช่แค่จ่ายแล้วจบ

  • @natthacareeradvisor6238
    @natthacareeradvisor623814 күн бұрын

    มหาวิทยาลัยที่ UK ระดับ top 10 มหาวิทยาลัยก็ใช้ อจ. จากมหาวิทยาลัย ที่เกรด มหาวิทยาลัย ต่ำกว่า มาสอนแทน มีการประท้วงของ อจ ๆ งดสอน และไม่มีคลาส ชดเชย

  • @user-yw1gp2ul9s
    @user-yw1gp2ul9s15 күн бұрын

    โรงเรียนที่ดีที่สุด คือ รร.ใกล้บ้านที่สุด

  • @kewintaylor7056
    @kewintaylor705613 күн бұрын

    ไม่แน่เสมอไปครับ เพราะ ถ้าครูดี ลูกเก่ง เพื่อนดี พอไหว แต่ เพื่อนไม่ดี แวดล้มไม่ดี มีพวกแก๊งค์ แบบนี้ อาจจะตุยก่อนโตได้นะ😢 เพื่อนไม่ดี ต้องคำนึงถึงที่สุด

  • @tradingonlygold3508
    @tradingonlygold350813 күн бұрын

    ใช่ครับไม่จำเป็นต้องโรงเรียนแพงหรอก ธรรมดาๆ ถ้าเด็กเก่งมันก็เก่งวันยันค่ำ

  • @minnitt-jx4wt
    @minnitt-jx4wt11 күн бұрын

    @@tradingonlygold3508 ถ้าเจอสภาพแวดล้อมที่ดีก็ถือว่าโชคดีมากค่ะ นี่เจอครูผช เอาหัวมาไซร้ที่คอ(ตอนนั้น8ขวบ ไม่รู้จริงว่าคืออะไร แต่เหม็นบุหรี่มาก) ครู ผญ กระชากคอเสื้อ ทุบหลัง ดึงหู ยีหัวเพราะเราแค่เล่นยางลบ ถ้าเจอสังคมที่ดีในโรงเรียนคือโชคคดีมากๆค่ะ ที่หลายคนยอมจ่ายแพงเพราะคงซื้อสังคมด้วยค่ะ เพราะปัญหาหลายอย่างไม่ถูกแก้สักที อีกอันนึงที่เจอคือ เราถามรุ่นพี่เรื่องการบ้านคณิตศาสตร์เพราะแกได้เกรด4 ทุกปี (ต่างโรงเรียน) เพราะเราได้เกรด 1 แกบอกว่าที่โรงเรียนไม่สอนเลย ไม่มีเรียนจริงๆ ทั้งๆที่มันคือหลักสูตรปกติของสายวิทย์ บางทีถ้าโรงเรียนไกลบ้านดี ราคาไม่แพง คือโชคดีมากๆค่ะ เรียนที่ไหนก็เหมือนกัน ในวงการทำงาน คือไม่มีอยู่จริงค่ะ กระทรวงต้องแก้ไข แต่โรงเรียนที่ค่าเทอมแพงเวอร์ก็งงเหมือนกันว่าค่าอะไร มันขนาดนั้นเลยหรือ อาจเพราะไม่เคยสัมผัสด้วย

  • @kraimonmaneesilp138
    @kraimonmaneesilp13811 күн бұрын

    @@kewintaylor7056 ดร.ทางประถมวัยหลายคนบอกว่า โรงเรียนที่ดีที่สุดคือบ้านครับ แต่ต้องเป็นบ้านที่มีเวลาให้ มีสังคม มีความรู้ มีความตั้งใจ จะเห็นว่า ลูกของ ดร. พวกนี้หลายคน จะทำ Home school แทนที่จะส่งลูกไปเรียนโรงเรียนที่เราเชื่อกันว่าดี แถมยังได้ผลดีกว่าไปเรียนโรงเรียนพวกนั้นอีก เพราะ 1 ต่อ 1 ยังงัยก็ดีกว่า 1 ต่อ 15 - 30 แน่นอน และบางบ้าน 2-4 ต่อ 1 ด้วยซ้ำ ลูกเราเรียนอยู่ที่ไหน ก็จะมีภูมิในการใช้ชีวิตอยู่แบบนั้น ไปโรงเรียนดีๆแพงๆใช่ว่าจะไม่มีแก๊งค์ อาจจะมีลูกเศรษฐีนิสัยเสียโดนพ่อแม่สปอยจนเสียคน มาข่มมาบูลี่ลูกเราก็ได้(เห็นเป็นประจำ) หน้าที่ของพ่อแม่คือ ต้องทำให้ลูกเราอยู่ในสังคมตรงนั้นให้ได้ ไม่ใช่ผลักภาระทัั้งหมดให้ครูอาจารย์ ทำแบบนั้น ไม่ว่าโรงเรียนดีแค่ไหนก็ไม่รอดทั้งนั้น เพราะไม่มีโรงเรียนไหน กล้าจัดการกับเด็กทุกคนที่ก่อปัญหาหรอก หน้าที่พ่อแม่คือทำได้แค่ balance ไม่ให้มันหนักจนเกินไปเท่านั้น ถ้าลูกเราไม่มีปัญหาเรื่องพวกนี้เลย ไม่เคยมาบ่นเรื่องพวกนี้เลย ให้สงสัยไว้ก่อนว่า ลูกเรากำลังโดนแต่ไม่กล้าบอกเรา หรือ ลูกเราโดนโดดเดี่ยวไม่มีเพื่อนคบ หรือดีไม่ดี ลูกเราหน่ะแหละ คือตัวสร้างปัญหาให้เพื่อนๆอยู่ ถ้าอยู่แล้วนิ่งๆไม่มีเรื่องอะไรเลย มันผิดวิสัยเด็กครับ

  • @fischer-lm8dy
    @fischer-lm8dy9 күн бұрын

    แล้วถ้าสมมุติโรงเรียนใกล้บ้านที่สุด มีแต่พวกกะเลวกะลาด คุณครูไร้คุณภาพ โรงเรียนนั้นจะดีที่สุดไหมครับ

  • @nirunmachimmee5273
    @nirunmachimmee527315 күн бұрын

    ไม่ต้องวิจารเยอะถ้ามันแพงก็ไม่ต้องส่งลูกเรียนครับ

  • @MinatoUsumaki784
    @MinatoUsumaki78415 күн бұрын

    จะประชดไปเพื่ออะไร คน เค้าอุตส่าห์เสียเงินเยอะ เพราะคาดว่ามาตรฐานต้องดี แต่พอผลลัพธ์มันออกมาไม่ดีเค้าก็ต้องคิดสิครับ

  • @user-uh9kr6qz2h
    @user-uh9kr6qz2h12 күн бұрын

    แพงจ่ายได้ แต่มาตรฐานต่ำ ไม่สมราคา เลยไม่ยินดีจ่าย

  • @kraimonmaneesilp138
    @kraimonmaneesilp13811 күн бұрын

    @@MinatoUsumaki784 ก็โง่ตั้งแต่พ่อแม่แล้ว จะเอาดีอะไรที่เด็กได้ วัดคุณค่าง่ายๆที่เงิน ก็ได้สังคมให้ลูกที่วัดค่าที่เงินแบบนี้แหละ ถ้าตอนจะเอาเข้า ศึกษาให้ดีๆ มีข้อมูลให้ศึกษาเยอะแยะ แต่ขี้เกียจเอง เอาง่ายเข้าว่า คิดว่าแพงแล้วจะดี ก็คิดง่ายๆตั้งแต่ต้น ผลมันก็เลยออกมาแบบนี้แหละครับ ตามเหตุปัจจัย พ่อแม่เลือกโรงเรียนลูกโดยฟังๆเค้ามา ดูว่าค่าเทอมแพงแล้วดี(บางทีเอาไปคุยอวดกันอีก) ไม่ได้ลงไปดูเลยว่า เค้าสอนอะไรยังงัย สอบกันยังงัยแบบไหน เชื่อคำโฆษณาแล้วก็เลือก เพื่อนๆลูก ที่หลงมาเข้า ก็น่าจะมีพ่อแม่ในลักษณะเดียวกัน สังคมที่พ่อแม่เลือกให้ ก็จะเป็นสังคมที่ดูอะไรแต่ภายนอก ไม่พิจารณาให้ละเอียด ดูที่แพงไว้ก่อน เพราะเลือกส่งลูกไปในสังคมแบบนั้นเอง ลูกจะเป็นยังงัย มันก็ขึ้นกับวิธีการตัดสินใจส่งลูกไปเรียนของพ่อแม่หน่ะแหละครับ เพราะมันก็คือการเลือกสังคมให้ลูกทางอ้อมหน่ะแหละ จะแพงไม่ว่า แต่ต้องคุ้มค่าที่จะแพง ต้องแสดงให้เห็นก่อนว่า ที่จ่ายแพง มันส่งเสริมให้ลูกของเราได้อะไรที่คุ้มค่า คุ้มราคาที่จ่ายเพิ่มไปมั้ย อย่าง จ่ายเพิ่มมาอีก 2 แสนกว่า ทำให้ลูกได้เจอสถานการณ์สมมุติ กับการเอาเงิน 2 แสนกว่านั้น พาลูกๆไปเจอประสพการณ์จริงเลย จะดีกว่ามั้ย ปัญหาใหญ่ มันอยู่ที่เวลาของพ่อแม่เองหน่ะแหละ ถ้าไม่มีเวลา ผลักให้โรงเรียนหมด จะมาหวังผลเลิศอะไร ยากทั้งนั้น

  • @rhythmgamelover2087
    @rhythmgamelover20877 күн бұрын

    วิจารณ์​ไม่ได้อ่อ???

  • @Gyrffhhjj8olkngfcceeetfff
    @Gyrffhhjj8olkngfcceeetfff7 күн бұрын

    จบมาได้2หมื่น555555

  • @kedsudaratchadawisitkul887
    @kedsudaratchadawisitkul88716 күн бұрын

    ครอบครัวเราไม่รวย พอจบระดับชั้นประถมศึกษา พ่อบอกว่าไม่มีเงินส่งเรียนต่อ อยากเรียนต้องสอบเข้า รร.รัฐบาลเพราะค่าบำรุงไม่แพง ถ้าสอบไม่ได้จะให้เรียนดัดผมหรือตัดเสื้อ พวกเราเลยพยายามหนักมาก สอบเข้า รร.รัฐบาลได้และพยายามสอบเข้ามหาวิทยาลัยแนวหน้าของรัฐได้ในที่สุด เราเคยสอน รร.ของพวก elite ใน กทม. พบว่า ค่าเล่าเรียนแพงมิได้เป็นเครื่องประกันความรู้และทักษะ ด้านวิชาหรือภาษาแต่อย่างใด เป็นกระแสเห่อในสังคมที่อวดกันว่า ค่าเล่าเรียนลูกฉันเทอมละสองสามแสนหรือปีละล้านบาท😢😢😢

  • @supasilpphuancphung8899
    @supasilpphuancphung889917 күн бұрын

    สงสัยเหมือนกันครับ

  • @kengwin413
    @kengwin41325 күн бұрын

    เนื่องจากครูพัดทำงานด้านการศึกษากับเด็ก ๆ และ ผู้ปกครอง รวมถึงกับสถาบันการศึกษา หากมีโอกาสและครูพัดสนใจ อยากให้คุยประเด็นเรื่องปัญหาสุขภาพจิต กระบวนการดูแลเด็กที่อาจมีปัญหาสุขภาพจิตระหว่างเรียนในอเมริกา อังกฤษ เทียบกับไทย หรือชาติอื่นๆ เพราะประเด็นนี้เป็นประเด็นที่สำคัญมากสำหรับทุกคนในสังคมการเรียนและการทำงานค่ะ หากสนใจอยากคุยเรื่องนี้ เค็งยินดีให้ข้อมูลนะคะ บังเอิญเพิ่งมาเจอคลิปนี้เช้านี้เองค่ะ รู้สึกสนใจมาก ที่ครูพัดนำมาคุยให้ผู้ติดตามรับฟัง เลยฟังจนจบเลย ช่วงเวลาตั้งแต่ต้นเดือนธันวาคม ปีที่แล้ว หลังจากเป็นข่าวไปทั่วประเทศ จนถึงวันนี้ อาการสุขภาพจิตของเค็งก็ดีขึ้นตามลำดับ แต่ก็ยังถือว่าเป็นผู้ป่วยทางจิตเวชและยังต้องพบจิตแพทย์ไปตลอดชีวิตค่ะ ช่วงหลายเดือนหลังจากไปออกทีวี เลยไม่ค่อยได้เข้ามาสำรวจข้อมูลข่าวสารของตัวเอง ทางยูทูป และตามประสาของคนป่วยซึมเศร้า ก็ไม่ค่อยมีความกล้าที่จะพูดคุยกับคนแปลกหน้า แต่ในกรณีของครูพัด เค็งถือเป็นโอกาสดี และเชื่อว่าครูพัดมีความปรารถนาดีให้กับเด็กๆ และ สังคมของคนมีการศึกษาค่ะ ขอบคุณอีกครั้งนะคะ ที่นำเรื่องราวของเค็งมาวิเคราะห์ในคลิปนี้ 😅

  • @kengwin413
    @kengwin41325 күн бұрын

    😊สวัสดีค่ะ ครูพัด ขอบคุณมาก ๆ นะคะ ที่ใช้เคสของเค็งในการยกตัวอย่างข้อบกพร่องของระบบการศึกษาไทย แต่เค็งเกรงว่าครูพัดอาจจะเข้าใจผิดไปบ้าง แต่ไม่เป็นไรค่ะ เค็งอยากขอชี้แจงจากมุ่มของเค็งตรงนี้นะคะ เพื่อจะได้ไม่หลงประเด็นไปไกลกว่านี้ พื้นฐานการเรียนของเค็งคือวิศวกรรมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ สองศาสตร์นี้ ไม่เน้นท่องจำแต่เน้นการวิเคราะห์เป็นหลัก และส่วนใหญ่ตอนเรียนคือเรียนจาก Text books จากต่างประเทศ และจากประสบการณ์ทำงานที่ผ่านมาของเค็ง ไม่ได้ทำงานแค่ในประเทศไทย แต่ต้องเป็นตัวแทนของบริษัทไปเจรจาและพาทีมวิศวกรไปร่วมแก้ไขปัญหาให้กับชาวต่างประเทศ หลายประเทศ ทั้งในเอเชีย ยุโรป แคนาดา และออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ดังนั้นเค็งจึงไม่ได้มีพื้นฐานการศึกษาแบบท่องจำแบบที่ครูพัดวิเคราะห์ในคลิปนี้ เค็งยอมรับว่าเค็งอาจจะไม่ใช่คนที่ใช้ภาษาอังกฤษได้เก่งเท่าไร โดยเฉพาะในด้าน Academic เพราะประสบการณ์ทำงานส่วนใหญ่ในชีวิตคืออยู่ในภาคเอกชน ที่ไม่ได้เน้นทักษะด้าน Academic แค่พอสื่อสารได้ อีกทั้งอยู่ในธุรกิจวิศวกรรม ก็ใช้ภาษาเทคโนโลยีคุยกัน จึงอ่อนในภาษาด้านสังคม มนุษยศาสตร์ จึงทำให้สอบภาษาอังกฤษสำหรับ Academic แล้ว ได้คะแนนไม่ถึงระดับที่มหาวิทยาลัยที่อังกฤษต้งไว้ แต่ขาดไปแค่ 0.5 เองค่ะ และที่ไปเรียนปรับภาษาก็เรียนแบบ Intensive Course ใช้เวลาเพียง 6 สัปดาห์เท่านั้น แต่เค็งก็ยอมรับว่าเค็งก็ยังคิดว่าตัวเองต้องพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ เนอะ ส่วนที่ครูพัดวิเคราะห์ในคลิปนี้ว่าเค็งไม่ประสบความสำเร็จในการศึกษาปริญญาเอก ก็ไม่ใช่ซะทีเดียวนะคะ เพราะตอนที่เรียนแม้จะต้องไปศึกษาพฤติกรรมการจราจรโดยใช้ทฤษฏีวิศวโยธา เค็งก็ทำได้ดีในระดับที่อาจารย์ที่ปรึกษาชมว่าเป็นนักศึกษาปริญญาเอกในรอบ 10 กว่าปี ที่ค้นหาประเด็นที่ซ่อนอยู่ในทฤษฎีนั้นและนำมาต่อยอดได้อย่างน่าทึ่ง ถ้าไม่่ป่วยซะก่อน อาจารย์บอกว่น่าจะเป็นวิทยานิพนธ์ในระดับดีมาก แต่ก็ป่วยซะก่อน ซึ่งเราต้องยอมรับชะตากรรมนั้นค่ะ ปัญหาที่เค็งประสบและนำมาแชร์กับผู้ชมทางทีวีคือปัญหาสุขภาพจิตเป็นหลัก ซึ่งการเรียนที่กดดันและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปอาจจะเป็นส่วนหนึ่ง แต่ไม่ใช่ประเด็นหลัก เพราะในสมัยทำงานภาคเอกชน ต้องไปใช้ชีวิตในต่างประเทศ และมีการทำงานร่วมกับนานาชาติบ่อยๆ ผ่านแรงกดดันมาหลายสนามและหลายปีแล้วค่ะ ส่วนเรื่อง Self-Learning ก็เป็นหนึ่งในจุดแข็งที่อ.ที่ปรกึษาที่อังกฤษรับเข้าเรียนที่นั่น เพราะท่านบอกว่าเค็งมีทักษะด้านนี้ค่อนข้างแข็งแกร่ง เลยอยากแชร์ในอีกมุมนึงให้ครูพัดได้รับทราบค่ะ เพราะเกรงว่าจะเข้าใจผิด ประเด็นที่อยากไฮไลท์คือ เค็งป่วยเป็นโรคจิตเภท ซึ่งมันเป็นความผิดปกติของสารเคมีในสมอง ซึ่งเกิดได้กับทุกคน แม้กระทั่ง John Nash นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล ซึ่งเป็นคนอเมริกันโดยกำเนิดก็ป่วยเป็นโรคนี้ หลังจากจบปริญญาเอกและสอนในมหาวิทยาลัย มันไม่ได้หมายความว่าเขาได้รับแรงกดดันเรื่อง ภาษา การวิเคราะห์หรือ การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมไม่ได้ค่ะ

  • @montiral3378
    @montiral3378Ай бұрын

    ครูคะพูดถึงสิงคโปร์ด้วยได้ไหมคะ

  • @theivyschoolbangkok6578
    @theivyschoolbangkok6578Ай бұрын

    ลองฟังในคลิปที่ครูพัดพูดไว้นิดหน่อยเกี่ยวกับทุนเรียนสิงคโปร์ หากมีคำถามเพิ่มเติม สามารถคอมเม้นได้เลยค่าา ยินดีตอบทุกๆคนเลย kzread.info/dash/bejne/po6Cp9Zsf7mbfrQ.html

  • @montiral3378
    @montiral3378Ай бұрын

    @@theivyschoolbangkok6578 ขอบคุณมากค่ะ รีบไปหาด่วนค่ะ 🙏🏻❤️

  • @Parman1989
    @Parman1989Ай бұрын

    แล้วมหาลัยฝั่งยุโรป พวกฝรั่งเศส เยอรมัน ไม่ติด top ครูคิดว่าไงบ้างครับ

  • @connectica45166
    @connectica45166Ай бұрын

    Ben Frankline ไม่ได้เป็น President นะคะส่วน Donal trump จ้างเรียนเข้า Wharton

  • @jero5662
    @jero5662Ай бұрын

    Ivy league ต้องกินได้ ความหมายของเด็กอเมริกันคือต้องเอาทุนด้วย ความสำเร็จของประเทศนี้ขึ้นกับหลายปัจจัยเเต่ปริญญาก็เเค่โลกอีกมุมเท่านั้นเอง

  • @user-xn1cw8yq4c
    @user-xn1cw8yq4cАй бұрын

    เพื่อนเราจบcornell ตอนแรกไม่รู้ว่ามันเก่ง แต่เพื่อนอีกคนมาบอก เห้ยมหาลัยมันดังนะเว้ย ถึงรู้😅

  • @Fuckyouall562
    @Fuckyouall562Ай бұрын

    Logo ขาด MIt ไปได้ไง

  • @swvrppb
    @swvrppbАй бұрын

    ครูพัดคะ อยากทราบว่าที่ฮาร์วาร์ดมีคณะเศรษฐศาสตร์สำหรับป.โทมั้ยคะ

  • @pisekchannel
    @pisekchannelАй бұрын

    เบนจามิน แฟรงควิน ไม่เคยเป็นประธนาธิบดีสหรัฐนะครับ

  • @theivyschoolbangkok6578
    @theivyschoolbangkok6578Ай бұрын

    ขอบคุณค่ะ พอดีหมายถึง founding father ขอบคุณที่ช่วยแก้นะคะ

  • @Litthcihaiai
    @LitthcihaiaiАй бұрын

    🎉

  • @ntbh5356
    @ntbh5356Ай бұрын

    ข้อมูลเป็นประโยชน์มากเลยค่ะ

  • @sasiaeh50
    @sasiaeh50Ай бұрын

    สวัสดีคะ สมมติว่าถ้าเราอยากให้ลูกเรียน มหาลัยอินเตอร์ในไทย ในอนาคต เราต้องปูลูกให้เรียนหลักสูตรไหนดีคะ ที่จะช่วยเรื่องมายเซทหลังจากจบไปมีอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นพนักงานในบริษัทชั้นนำ หรือเจ้าของกิจการที่อ่านเทรนขาด เราจะนำร่องลูกด้วยระบบใดดีคะ ขอบคุณคะ

  • @theivyschoolbangkok6578
    @theivyschoolbangkok6578Ай бұрын

    เรื่อง mindset ไม่เกี่ยวกับระบบการศึกษาค่ะ สิ่งที่มีผลมากกว่าคือการเลี้ยงดูในครอบครัว สำหรับเรียนอินเตอร์ในไทย ไม่ได้เข้ายากหรือแข่งขันสูงเท่าต่างประเทศ เรียน รร อะไร ก็เข้าได้ค่ะ เรียน รร ไทยก็เข้าได้ ไม่จำเป็นต้องเรียนอินเตอร์ค่ะ ไม่ควรคิดว่าเอาลูกเรียนระบบนี้แล้วทุกอย่างเรียบร้อย ไม่ต้องจัดการอะไรแล้ว ให้เป็นหน้าที่โีรงเรียน สิ่งที่สำคัญคือการปลูกฝังความมั่นใจ ซึ่งสิ่งนี้เริ่มก่อนและครอบครัวมีผลมากที่สุดค่ะ

  • @nanthanmyasein5432
    @nanthanmyasein5432Ай бұрын

    I agree with you❤

  • @user-zw3lt5bx4l
    @user-zw3lt5bx4lАй бұрын

    เหนื่อยมากนะค่ามีลูกเป็นออทิสติกและสมาธิสั้นด้วยพัฒนาการช้าไม่เข้าสังคมเรามีลูกเป็นออทิสติกน้องเริ่มมีอาอาการผิดปกติตั้งแต่จะเข้าสองขวบไม่นิ่งไม่สบตาเวลาเราคุยด้วยและการสือสารไม่ได่ไม่พูดเลยจนปัจจุบันจะเข้า15และเรียนยุร.รเด็กพิเศษมันต้องใช้การดูแลค่อนข้างยาดหรือไห้เวลากับเขามากจนต้องออกงานมาดูแลสื่อสารไม่รู้เรื่องและพูดไม่ได้ไม่นิ่งนอนยากเดืนทั้งคืนโวยวายมีบ้างครั้งทำร้ายตัวเองต้องทั้งหาหมอพบแพทย์และร่วมฝึกด้วย

  • @user-ft3ml9gt6y
    @user-ft3ml9gt6y2 ай бұрын

    อลิสา

  • @theivyschoolbangkok6578
    @theivyschoolbangkok65782 ай бұрын

    เยี่ยมเลยค่ะ ชื่อเพราะมากๆด้วย^^

  • @user-it1nr1es1m
    @user-it1nr1es1m2 ай бұрын

    แต่ก่อนจะให้ลูกช่วยต้องหาผัวก่อนหลังจากนั้นก็มาทำลูกเสร็จแล้วลูกโตขึ้นค่อยใช้ลูกช่วยนะจ๊ะ

  • @user-it1nr1es1m
    @user-it1nr1es1m2 ай бұрын

    แต่ก่อนจะให้ลูกช่วยต้องหาผัวก่อนหลังจากนั้นก็มาทำลูกเสร็จแล้วลูกโตขึ้นค่อยใช้ลูกช่วยนะจ๊ะ

  • @anongruersi2945
    @anongruersi29452 ай бұрын

    เห็นด้วยข่ะ

  • @user-lm5uk7fg8y
    @user-lm5uk7fg8y2 ай бұрын

    พระกับนักบวช

  • @user-jf8gb9br8p
    @user-jf8gb9br8p3 ай бұрын

    เด็กๆไม่ตั้งใจเรียนเองครับ ถ้าตั้งใจเรียนผลการเรียนดีแน่นอน ไม่ต้องจีเนียสหรอกขอแค่ตั้งใจ ผลการเรียนก้จะดีครับแอด

  • @narenthonmunkakhet8132
    @narenthonmunkakhet81323 ай бұрын

    ทุกวันนี้ผู้ปกครองเสียเงินให้กับลูกรียนพิเศษมากกว่าเรียนโรงเรียนหลัก *** ผมคนนึ่งที่ไม่เคยคิดจะส่งลูกเรียนพิเศษ เพราะอยากให้เด็กมีเวลากับครอบครัวให้มากกว่า