อุณหภูมิเท่าไหร่ถึงเป็นไข้

สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

Пікірлер: 416

  • @pattarapornsovarattanaphon8892
    @pattarapornsovarattanaphon8892 Жыл бұрын

    อุณหภูมิเท่าไหร่ถึงเป็นไข้ #ทำไมเป็นนไข้ #ตัวร้อน แต่มือเท้าเย็น #ยาลดไข้ทำงานอย่างไร ร่างกายคนเราในแต่ละวันจะมีอุณหภูมิไม่คงที่ จะมีช่วงเวลาที่อุณหภูมิร่างกายต่ำและสูง เรียกว่าเป็นวัฎจักรอย่างหนึ่งของร่างกาย ตอนที่1

  • @pattarapornsovarattanaphon8892

    @pattarapornsovarattanaphon8892

    Жыл бұрын

    อุณหภูมิของร่างกายจะถูกควบคุมด้วยศูนย์อุณหภูมิ อยู่ในสมองส่วนที่เรียกว่า Anterior Hypothalamus ซึ่งเป็นสมองส่วนที่อยู่ตรงกลางๆ และส่วนนี้จะเซ็ทว่าอุณหภูมิร่างกายควรจะเป็นเท่าไหร่ - ปกติในเวลา 6 โมงเช้าอุณหภูมิร่างกายเราจะต่ำที่สุด และในช่วง 16.00-18.00 น. จะเป็นเวลาที่อุณหภูมิคนเราสูงที่สุด - ถ้าเราทำการวัดปรอทใต้ลิ้น ในตอนเช้าอุณหภูมิไม่ควรเกิน 37.2 องศาเซลเซียส หากอุณหภูมิสูงเกิน 37.4 องศาเซลเซียสเมื่อไหร่อาจถือว่าเป็นไข้ได้ และในช่วงบ่าย 16.00-18.00 น. อุณหภูมิร่างกายก็ไม่ควรสูงเกิน 37.7 องศาเซลเซียส หากสูงกว่านี้อาจถือว่าเป็นไข้ได้ - ในทางปฏิบัติทางการแพทย์จะถือว่า 38 องศาเซลเซียสขึ้นไปจึงจะถือว่ามีไข้ แต่ในตอนเช้าหากเกิน 37.4 องศาเซลเซียสขึ้นไป หรือตอนบ่ายเกิน 37.7 องศาเซลเซียสขึ้นไปก็ถือว่าเป็นไข้ ตอนที่2

  • @pattarapornsovarattanaphon8892

    @pattarapornsovarattanaphon8892

    Жыл бұрын

    - ในบางกรณี คนบางคนโอกาสเกิดไข้จะยากกว่า เพราะการควบคุมอุณหภูมิของเขาจะไม่เหมือนคนทั่วไป ได้แก่ 1. ผู้สูงอายุโอกาสจะเกิดไข้ได้ยากกว่า โดยปกติผู้สูงอายุอุณหภูมิในร่างกายจะต่ำกว่าคนหนุ่มสาว 2. ในเด็กเล็กแรกเกิดการควบคุมอุณหภูมิจะไม่ค่อยดี โอกาสจะตัวเย็นมากกว่าตัวร้อน 3. ผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง ก็จะมีปัญหาการควบคุมอุณหภูมิ จะเกิดไข้ได้ยากกว่า 4. คนที่รับประทานยาสเตียรอยด์เป็นเวลานานๆ (แบบชนิดกิน เช่น Prednisolone, Dexamethasone, Betamethasone หรือ ฉีดแบบต่อเนื่อง) โอกาสเกิดไข้จะยากขึ้น แต่ไม่ใช่ว่าจะดี แต่อาจมีความผิดปกติบางอย่างที่ทำให้เกิดไข้ แต่ท่านไม่สามารถสร้างอุณหภูมิให้สูงขึ้นได้ ไม่นับคนที่ใช้สเตียรอยด์แบบพ่นเข้าปาก จมูก ที่ใช้แก้ไขในเรื่องโรคภูมิแพ้และโรคหอบหืด 5. สำหรับผู้หญิงวัยเจริญพันธู์เมื่อไข่ตก อุณหภูมิร่างกายจะสูงขึ้น ดังนั้นทางแพทย์ด้านเจริญพันธุ์จึงให้ผู้หญิงที่ต้องการตั้งครรภ์วัดอุณหภูมิทุกวัน หากวันไหนอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าปกติแสดงว่าวันนั้นเป็นวันที่ไข่ตก ดังนั้นโอกาสที่จะตั้งครรภ์ก็จะสูงขึ้น ตอนที่3

  • @pattarapornsovarattanaphon8892

    @pattarapornsovarattanaphon8892

    Жыл бұрын

    ทำไมจึงเกิดไข้ขึ้นได้ 1. สมองส่วน Anterior Hypothalamus เป็นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายเมื่อมีอะไรมากระตุ้นมัน จะทำให้เปลี่ยนศูนย์การควบคุมได้ คล้าย เราตั้งแอร์ไว้ 25 องศา วันดีคืนดีเรารู้สึกหนาวเราจึงตั้งไว้ 27 องศา อุณหภูมิในห้องก็ค่อยๆอุ่นขึ้นเป็น 27 องศา ร่างกายเรา เหมือนกับศูนย์ Anterior Hypothalamus ก็เช่นกัน จะตั้งไว้ที่ประมาณ 37 องศา ถ้าเรามีไข้ อาจจะตั้งไว้ที่ 38 หรือ สูงกว่านั้น 2. ร่างกายเราจะทำทุกวิถีทางเพื่อให้อุณหภูมิในร่างกายให้ไปถึงที่เราตั้งไว้ให้ได้ โดยจะมีการหดตัวของเส้นเลือดส่วนปลายบริเวณผิวหนังและปลายมือปลายเท้า พอเส้นเลือดหดเลือดก็จะเดินทางไปสู่แกนกลางส่วนกลาง จะทำให้ร้อนมากขึ้น เมื่อเลือดไปเลี้ยงบริเวณส่วนปลายน้อย จะทำให้บริเวณนั้นเย็น หากเราไปจับตัวคนเป็นไข้บริเวณปลายมือปลายเท้าเขาจะเย็น เป็นเพราะเลือดหดตัวนั่นเอง ประโยชน์ของเส้นเลือดหดตัว จะป้องกันการสูญเสียความร้อนของเส้นเลือดที่ผิวหนัง ความร้อนจะไม่ระเหยออก มันจะกลับเข้าสู่ร่างกาย ทำให้อุณหภูมิร่างกายเราสูงขึ้น ตอนที่4

  • @pattarapornsovarattanaphon8892

    @pattarapornsovarattanaphon8892

    Жыл бұрын

    3. จะมีการยับยั้งต่อมเหงื่อ เพราะ ถ้าเหงื่อออก ร่างกายก็ต้องระเหยเอาความร้อนออกไป หากทำแบบนี้แล้วร่างกายยังไม่สามารถทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นได้จนถึงที่เราตั้งไว้ ก็จะมีอาการหนาวสั่นตามมา หรือหลายๆคนมีไข้หนาวสั่น กลไกร่างกายถ้ามีการสั่นจะเป็นการใช้กล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกาย เมื่อสั่นแล้วจะสร้างความร้อนออกมาด้วย เป็นการเพิ่มอุณหภูมิของร่างกาย ข่วงแรกจะเป็นการหดตัวของเส้นเลือดก่อน จะไม่สั่น เส้นประสาทกลุ่มที่ทำหน้าที่บอกร่างกายว่าร้อนเกินไปแล้วนะ จะไม่ค่อยทำงาน เพราะร่างกายต้องการความร้อนเพิ่มขึ้น ถ้าไม่พอจะมีการสั่นร่วมด้วย จะมีการสร้างเมตาบอลิซึมต่างๆของร่างกายเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มความร้อนเพิ่มขึ้น ที่ Anterior Hypothalamus จะมีสาร Prostaglandin E2 หรือ PGE อาจจะ 2 หรือไม่ 2 ก็ได้ เป็นตัวที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการ set อุณหภูมิที่ Anterior Hypothalamus ทำให้เรามีไข้ ตอนที่5

  • @pattarapornsovarattanaphon8892

    @pattarapornsovarattanaphon8892

    Жыл бұрын

    Prostaglandin ถูกกระตุ้น จากร่างกายที่มีการอักเสบชนิดต่างๆ เช่น ติดเชื้อไวรัสโควิดเข้ามา ติดเชื้อแบคทีเรีย ก็จะมีการทำให้ร่างกายตอบสนอง ร่างกายจะสร้างสาร Cytokine storm ซึ่งสาร Cytokine มีมากกว่า 70-80 ชนิด แต่ตัวที่เกี่ยวข้องกับไข้ มี 4 ตัว คือ Interleukin-1, Interleukin-6, Tumor necrosis factor alfa, Ciliary neurotrophic factor ร่างกายจะสร้างขึ้นเพื่อไปกระตุ้นสมองส่วน Anterior Hypothalamus สร้าง Prostaglandin E2 ขึ้นมามากขึ้น แล้วไปเปลี่ยนอุณหภูมิที่ร่างกายเรา set ไว้แล้วก่อให้เกิดไข้ตามมา ยาที่สามารถไปยับยั้ง Prostaglandin E2 คือ 1. ยา ไทลีนอล พาราเซตตามอล Acetaminophen ทั้งหมดนี้เป็นยาตัวเดียวกัน ปกติแล้วจะผ่านเข้าสู่สมอง แล้วจะมี เอนไซม์ตัวหนึ่ง ชื่อ Cytochrome P450 มาเปลี่ยนแปลงมันให้เป็นตัวที่สามารถยับยั้งเอนไซม์ Cyclooxygenase ได้ ทำให้เกิดการยับยั้งการสร้าง Prostaglandin E2 เพราะ Cyclooxygenase มีความสำคัญในการสร้าง Prostaglandin ตอนที่6

  • @GuGu2213
    @GuGu2213 Жыл бұрын

    ลองฟังแล้วมาสรุปตามความเข้าใจ Episode I 👉ภาวะไข้ 🤒 - ระดับอุณหภูมิของร่างกาย ( Temperature ขอย่อว่า Temp.)ในหนึ่งวันนั้นไม่เท่ากันมีทั้งช่วงที่สูงเเละต่ำ โดยปกติ ต่ำสุดตอนเช้า > ~ 6 น. ไม่ควรเกิน 37.2°C สูงสุด ตอนเย็น~16 น.ไม่ควรเกิน 37.7°C * นิยามไข้ ทางการแพทย์ จะถือว่ามีไข้ คือ ถ้าวัดโดยปรอท ทางปากแล้ว Temp.>38°C ( แต่ในบางคนเวลามีไข้ temp.อาจสูงหรือต่ำกว่านี้ได้ ต้องดูด้วยว่าเป็นในเวลาไหนของวัน) -คนบางกลุ่มอาจเกิดภาวะไข้ได้ยากกว่ากลุ่มคนทั่วไป เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ, เด็กแรกเกิดหรือเด็กเล็ก, กลุ่มคนไข้โรคไตเรื้อรัง, คนที่ทานยา steroid ต่อเนื่อเป็นเวลานานๆ - ผู้หญิงในช่วงร่างกายมีไข่ตก จะพบว่าร่างกายมี temp ที่สูงขึ้นกว่าปกติ ( อาจใช้การวัด temp มา predict ช่วงที่ไข่ตกได้ ) * Temp ของร่างกายมีศูนย์ควบคุมอยู่ที่สมองส่วน Anterior Hypothalamus โดยจะมีการตั้ง หรือ set ระดับ temp. ที่ร่างกายต้องการไว้ ซึ่งปกติจะ~37°C - ในขณะที่มีไข้ ศูนย์ควบคุม จะมีการตั้งระดับ temp.ที่ร่างกายต้องการ สูงกว่าปกติ และร่างกายจะพยายามเพิ่มความร้อนของร่างกายให้ได้ถึงตามระดับที่ศูนย์ควบคุมตั้งไว้ โดยวิธีต่างๆ เช่น 1.มีการหดตัวชองเส้นเลือดส่วนปลาย,ผิวหนัง ปลายมือปลายเท้าเพิ่ม > จึงอาจพบอาการปลายมือปลายเท้าเย็นได้ 2.ยับยั้งต่อมเหงื่อ ( ทำให้ลดการระบายความร้อนออกจากร่างกาย) 3.มีอาการสั่น ( หนาวสั่น ) 4.เพิ่ม metabolism ต่างๆ ของร่างกาย 👉สารที่ทำให้เกิดไข้ > Prostaglandin ( PGE) โดยเฉพาะ PG E2 เป็นสารที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการ set ของระดับ temp. ที่ร่างกายตั้งไว้ที่ anterior hypothalamus **PGE เกิดมาจากการที่ร่างกายถูกกระตุ้นด้วยสิ่งที่ทำให้ร่างกายเรามีการตอบสนองด้วยภาวะอักเสบต่างๆ เช่น การติดเชื้อ, ภาวะที่มีภูมิต่อต้านตัวเอง เป็นต้น *ในภาวะที่ร่างกายมีการติดเชื้อ > ร่างกายจะมีการตอบสนองด้วยการสร้าง Cytokine ( Cytokine คือ สารกลุ่มโปรตีนที่ cell สร้างขึ้นเพื่อทำหน้าที่ส่สัญญาณต่อไปให้ cell อื่นๆ การสื่อสารระหว่าง cell นี้มักถูกใช้ในกระบวนการภูมิคุ้มกันของร่างกาย เช่น เมื่อมีการบาดเจ็บหรือติดเชื้อ ) ..ข้อมูลนี้เเถมให้😊) ปกติ Cytokine มี ~80+ ชนิด แต่ที่เกี่ยวข้องกับภาวะไข้มีอยู่ 4 ตัว คือ 1.Interleukin 1 ( IL-1) ( ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้ง IL-1 เช่น Anakinra เป็น IL-1 Receptor Antogonist) 2.Interleukin 6(IL-6) ( ยาที่ออกฤทธิ์ลด IL-6 เช่น Tocilizzumab ยานี้ใช้ใน Pt.Covid 19 ที่มี IL-6 สูง ) 3.Tumer necrosis factor ( TNF) ( ยาที่ออกฤทธิ์ตรง targer นี้ เช่น Infiximab, Adalimumab > เป็น chimeric monoclonal antibody ) 4.Ciliary neurotrophic factor ( CNTF) Cytokine 4 ตัวนี้จะเกี่ยวข้องกับภาวะไข้ เพราะจะไปกระตุ้นให้มีการสร้าง PGE ตรง Anterior Hypothalamus มากขึ้น > ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับอุณหภูมิที่ร่างกายตั้งไว้

  • @khuanchitsaichan4576
    @khuanchitsaichan4576 Жыл бұрын

    ช่องอาจารย์หมอมีสาระความรู้เป็นประโยชน์ทั้งบุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนทั่วไปมากเลยค่ะ #สิ่งที่ต้องทำเป็นประจำทุกวันคือ การเข้ามาฟังอาจารย์หมอ😊 #ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ🥀🥰 ปล. เป็นกลุ่มประชาชนทั่วไป ที่ปกติจะมีวันเข้าไปฟังทบทวนเนื้อหาเป็นประจำค่ะ โดยเฉพาะถ้าได้ยินใครสงสัยเรื่องที่อาจารย์หมอเคยพูดไว้ ก็จะแชร์คลิปให้ฟัง ล่าสุดก็แชร์ให้น้องที่มีปัญหาความดันต่ำค่ะ😊

  • @user-cu9vt9ds4m
    @user-cu9vt9ds4m Жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ

  • @wanpensenapitak1360
    @wanpensenapitak1360 Жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆนะคะ

  • @yupinintaya3081
    @yupinintaya3081 Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะคุณหมอที่แบ่งปันความรู้

  • @Chaweewan8769
    @Chaweewan8769 Жыл бұрын

    ขอบพระคุณมากค่ะอาจารย์🙏

  • @YouYou-jd3el
    @YouYou-jd3el Жыл бұрын

    ขอบคุณความรู้ดีๆค่ะอาจารย์แพทย์.

  • @dusitapamornsoot7045
    @dusitapamornsoot7045 Жыл бұрын

    ขอบพระคุณ ค่ะ คุณ หมอ 🙏🧚‍♂️🧚‍♀️

  • @user-mr8fp6lo6g
    @user-mr8fp6lo6g Жыл бұрын

    สวัสดีเจ้าคุณหมอขอบคุณเจ้า🙏🙏🙏🙏

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa Жыл бұрын

    คลิป อุณหภูมิเท่าไหร่ถึงเป็นไข้ #ทำไมเป็นไข้ #ตัวร้อน แต่มือเท้าเย็น #ยาลดไข้ ทำงานอย่างไร เพียงชั่วข้ามคืนยอดวิวเช้าวันนี้เกิน💥12,000 ครั้ง💥แล้วค่ะ 💐💐💐💐💐ขอแสดงความยินดีด้วยนะคะ💐💐💐💐💐 เนื้อหาไม่ธรรมดาเลย ลงลึกในรายละเอียด และอาจารย์ตั้งใจอธิบายมากๆ สีหน้าท่าทางบอกชัดเจนมากค่ะ

  • @pulsirinijsriwong8082
    @pulsirinijsriwong8082 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ชอบคำแนะนำค่ะชัดเจนดีค่ะ

  • @mosheaminewsoji814
    @mosheaminewsoji814 Жыл бұрын

    สวัสดี​ครับ ให้​กําลัง​ใจ​หมอด้วย ขอบคุณ​ครับ​

  • @jaguzzichannels
    @jaguzzichannels Жыл бұрын

    สนุกมากเลยคับ ได้ความรู้เยอะแยะมากมายหลายอย่าง

  • @user-nl3do1vr2n
    @user-nl3do1vr2n Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะอาจายร์หมอ ขอบพระคุณด้วยค่ะ ได้ความรู้อีกแล้ว👍

  • @user-kx9hv6cw8y
    @user-kx9hv6cw8y8 ай бұрын

    มีสาระมากๆๆค่ะคุนหมอ

  • @anzahomalee8284
    @anzahomalee8284 Жыл бұрын

    ติดตามคุณหมอมาตลอด ขอบคุณค่ะที่ให้ความรู้ ค่ะ🙏

  • @ruj1818
    @ruj1818 Жыл бұрын

    อาจารย์สอนละเอียดจัดเลยครับ นศพ ฟังได้ int ฟังดีครับ

  • @AnaAna-tu6kn
    @AnaAna-tu6kn Жыл бұрын

    มีประโยชน์มากเลยค่ะอาจารย์หมอ ขอบพระคุณมากค่ะ🙏

  • @jaocia2966
    @jaocia2966 Жыл бұрын

    ขอเคยประทับใจอีกครับ ชอบฟัง

  • @aakiattiphong3354
    @aakiattiphong3354 Жыл бұрын

    ชัดเจนแล้วกระจ่างมากครับ ทำให้รู้จักร่างกาย เราเองมากขึ้น

  • @user-vr8cy1zc3x
    @user-vr8cy1zc3x Жыл бұрын

    ขอบคุณคะ อาจารย์หมอ.❤️🙏

  • @thanatchayaanekrattanaphar6324
    @thanatchayaanekrattanaphar6324 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆคะคุณหมอ

  • @chruang9498
    @chruang9498 Жыл бұрын

    คุณหมอคลิปนี้ภาพปก หน้าสดใสปิ๊งมากค่ะ

  • @user-yw7gq2ku9u
    @user-yw7gq2ku9u Жыл бұрын

    ชอบฟังค่ะ🙏

  • @appge7876
    @appge7876 Жыл бұрын

    สวัสดี​ค่ะ​คุณ​หมอ​แทน​ป้า​ชอบคุณ​หมอ​มาบอกอาการของคนไข้ทุกโรคชอบค่ะ

  • @tippayaponanukul6958
    @tippayaponanukul6958 Жыл бұрын

    ❤️🙏🏼🙏🏼ขอบคุณความรู้ ทำให้เข้าใจมากขึ้นค่ะ🙏🏼🙏🏼❤️

  • @iakiak8720
    @iakiak8720 Жыл бұрын

    ขอบค่ะคุณหมอ🙏

  • @thunyamy24
    @thunyamy24 Жыл бұрын

    ขอบพระคุณมากๆค่ะ

  • @nittayakaewploy8687
    @nittayakaewploy8687 Жыл бұрын

    ชอบค่ะ..เลิกงานกลับถึงบ้านแล้วจะเปิดฟังอีกครั้งค่ะ🙏💗💖🥰🤩😍

  • @nalinc3304
    @nalinc3304 Жыл бұрын

    Your palpable interest in educating others and engaging narrative make these difficult bio lessons more palatable. Appreciate it!

  • @kanikawalangitan659
    @kanikawalangitan659 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะ ป้ากรรณิกาขอบคุณมากค่ะที่นำเรื่องสำคัญมาให้ความรู้เรื่องนี้ ป้าก็ติดตามมาทุกวันค่ะ คุณหมอรักษาตัวดีๆนะคะ รักหมอธานีย์ค่ะ

  • @chantanaolsson6833
    @chantanaolsson6833 Жыл бұрын

    ขอบคุณคุณหมอมากคะ

  • @duangkamolsakulkitjaroen4680
    @duangkamolsakulkitjaroen4680 Жыл бұрын

    ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ ทุกๆเคสเป็นความรู้ที่ดีมากจริงๆค่ะ

  • @wonsilapattawee8134
    @wonsilapattawee8134 Жыл бұрын

    โอ้โหหมอ ได้ความรู้มากๆเกี่ยวกับความร้อนในร่างกาย ขอบคุณจริงๆค่ะ

  • @pussadeek.695
    @pussadeek.695 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากค่ะ ได้ความรู้เรื่องแบบที่ไม่ที่ไม่เคยรู้มาก่อนค่ะ เข้าใจชัดเจนก็วันนี้เลยค่ะ

  • @tarungtiwa2710
    @tarungtiwa2710 Жыл бұрын

    สวัสดีคะ=ประเทศไทย ขอบคุณมากๆคะคุณหมอ วันนี้มาให้ความรู้เกี่ยวกับการเป็นไข้มีประโยชน์มากคะได้ความรู้เพิ่มมากขึ้นคะ.👍 ตาขอให้คุณหมอมีความสุข สุขภาพแข็งแรงและปลอดภัยนะคะ.🙏🇹🇭😷🌹💕

  • @kimsniper1899
    @kimsniper1899 Жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ...ฟังมาหลายคลิปแล้วติดตามตลอด ถึงผมไม่ใช่หมอแค่ระดับผู้ช่วย...ก็ได้ความรู้เยอะเลยครับ

  • @comserveitserve7165
    @comserveitserve7165 Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะ คุณหมอฮีโร่

  • @SFung-hv2ov
    @SFung-hv2ov Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะ คุณหมอแทน วันนี้คุณหมอดูอารมณ์ดีและสนุกในการอธิบายนะคะ😃 ขอบคุณสำหรับความรู้ในวีดีโอนี้ เป็นประโยชน์มากค่ะคุณหมอ

  • @user-il5sy4ol3r
    @user-il5sy4ol3r Жыл бұрын

    ขอขอบพระคุณคุณหมอมากนะครับ ถึงแม้ในด้านภาษาอังกฤษหรือภาษาทางการแพทย์ผมอาจไม่เข้าใจแต่คำอธิบายของคุณหมอผมพอจะประมวลได้เบื้องต้นเพราะผมมีภาวะโรคหัวใจ เส้นเลือดอุดตันใส่ขดลวดอยู่หนึ่งเส้น ความรู้เบื้องต้นพวกนี้เป็นประโยชน์สำหรับผมมากเลยครับ แล้วผมจะติดตามดูคลิปของคุณหมออยู่เสมอนะครับ ขออวยพรให้คุณหมอมีความสุขมากๆครับ ขอบพระคุณมากครับ

  • @preechapiangtoen7881
    @preechapiangtoen7881 Жыл бұрын

    เปิดฟังทุกวันเลยครับความรู้ดีๆจากอาจารย์ ขอบคุณมากๆครับ🙏🏻

  • @user-em7ys1ir4o
    @user-em7ys1ir4o Жыл бұрын

    วันนี้คุณหมอหล่อมากค่ะ👍👍👍👍👍👍

  • @joongkisung7906
    @joongkisung7906 Жыл бұрын

    เรื่องนี้เป็นเรื่องที่อยากรู้มาตลอดว่าทำไมถึงปวดหัวหรือเป็นไข้ ชอบมากๆๆๆๆๆขอบคุณมากคะ่

  • @paraneeplanantakuntorn
    @paraneeplanantakuntorn Жыл бұрын

    ตามมาทบทวนเรื่องเป็นไข้ค่ะ คลิปนี้เนื้อหาดีเยี่ยมเลย กราบขอบพระคุณอย่างสูง อาจารย์หมอสอนดีมาก ชัดเจนแม้คนที่ฟังไม่ใช่แพทย์ก็สามารถตามรู้ไปกับอาจารย์ได้

  • @suttipatboonsaun4617
    @suttipatboonsaun4617 Жыл бұрын

    อาจารย์หมอน่ารักค่ะ

  • @chittipornchuatram5703
    @chittipornchuatram5703 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะหมอ เคยเป็นครั้งหนึ่งหนาวสั่นมากๆเลยค่ะแล้วตัวก็ร้อนมาก ตอนที่เป็นตอนนั้นรู้กลัวมากเลยค่ะกลัวว่าตัวเองจะตายหรือเปล่าทำไมมันถึงได้หนาวสั่นน่ากลัวแบบนี้ ก็เลยลองทานแก้ปวดไปสองเม็ดพอทานไปสักพักใหญ่ๆอาการหนาวสั่นก็เริ่มค่อยๆดีขึ้น ขอบคุณสำหรับคลิปนี้มีประโยนช์มากๆ หมออธิบายได้ระเอียดและเข้าใจง่าย Take care naka 🤗😘❤

  • @suriyawong75
    @suriyawong75 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณนะคะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปคร๊😊😍😍

  • @supaveethana4984
    @supaveethana4984 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับคุณหมอ 👍

  • @leo-jx2mh
    @leo-jx2mh Жыл бұрын

    ขอบคุณครับพี่หมอ🙏 ฟังหลายครั้งทุกคลิปมองหน้าพี่หมอฟังไม่รู้เรื่องเลย♥️♥️♥️😊😊😊😁😁😁😘😘😘

  • @boomsong5729
    @boomsong5729 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์ เป็นไข้ เหมือนจะเป็นเรื่องธรรมดาที่ไม่ธรรมดา ฟังหลายรอบยังจำได้ไม่หมดเลยค่ะ เริ่มเป็นไข้ตอนฟังจบนี่แหละค่า ชื่อยาจำยากค่ะ เป็นข้อมูลที่ดีมากๆค่ะ เป็นประโยชน์กับทุกคน ให้ทราบวิธีรักษาอาการไข้เบื้องต้น และเมื่อไรควรไปพบแพทย์ ขอบคุณมากค่ะ ขอให้คุณหมอและครอบครัว มีสุขภาพแข็งแรง และมีความสุขนะคะ

  • @user-vi3lv5qk9t
    @user-vi3lv5qk9t Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะ คุณหมอแทน วันนี้ป้ามารับชมรับฟังไม่ดึกค่ะวันนี้ทุกวันเลิกงานดึก ป้าเกรงใจคุณหมอค่ะ แต่ก็ย้อนหลังชมตลอดๆๆเลยขอบพระคุณน่ะค่ะที่มีคริปความรู้ที่มีประโยชน์ในทุกๆๆวันขอบคุณค่ะ สุขภาพดีมีสุขน่ะค่ะคุณหมอและน้องโรชี่ด้วยค่ะ บุญรักษาค่ะ🙏🏼♥️♥️♥️🥰

  • @nung-noppapat
    @nung-noppapat Жыл бұрын

    ขอบคุณ​ค่ะ​อาจารย์​🙏🥰 คลิปลงลึกเรื่องไข้ละเอียดมากค่ะ​ เด็กเล็ก​ช่วงนี้ไข้สูงจากFlu​ ​A, โรคมือเท้า​ปาก, ​herpangina, เสี่ยงไข้สูงแล้วชักได้​ควรให้ยาลดไข้ก่อนมารพ.​ มีบางครอบครัวมีความเชื่อว่าถ้าให้ยาลดไข้มาก่อนหมอเด็กจะไม่เชื่อว่าเป็น​ไข้จริง😱😅

  • @user-gx6zt8pi6k
    @user-gx6zt8pi6k Жыл бұрын

    ขอขอบพระคุณคุณหมอแม้จะอยู่ไกลแสนไกลจังให้ความรู้เป็นวิทยาทานแก่ผู้ตกทุกข์ได้ยากได้ความรู้ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงค่ะ

  • @kgumpcm
    @kgumpcm6 ай бұрын

    ขอบคุณมากครับ พอรู้สาเหตุที่แท้จริงแบบนี้ แล้ว การดูแลสุขภาพด้วยตัวเองก็ง่ายขึ้น แม่นยำกว่าการคาดเดาเอาเอง บางทีก็ไม่ต้องลำบากไปโรงพยาบาลครับ

  • @Channel-xv2oo
    @Channel-xv2oo Жыл бұрын

    ขอบคุณคุณหมอแทนอย่างสูง ได้ยินได้ฟังคุณหมอพูดบ่อยๆทำควาเข้าใจกับตัวเอง ตกตะกอนในใจว่า ถ้ามีไข้แปลว่ามีความผิดปกติขึ้นในตัวของเรา คือมีการอักเสบมีได้ทั้งนอกร่างกายช่นผิวหนัง ภายในเรามองไม่เห็น

  • @user-tg1hi4dv9y
    @user-tg1hi4dv9y Жыл бұрын

    สงสัยมานานแล้ว เวลาป่วยทำไมไข้มักจะขึ้นตัวร้อน(แต่หนาวสั่น) หลายครั้งจะมีอาการปวดหัวอาเจียนร่วมด้วย มาเป็นเวลาทุกสี่ชั่วโมง โดยเฉพาะช่วงเวลาตอนเย็น ขอบคุณคุณหมอนะครับ

  • @user-gs3gf2ph7p
    @user-gs3gf2ph7p Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ

  • @Moto_lism
    @Moto_lism Жыл бұрын

    คุณหมอ ขอบคุณมากครับ

  • @user-ww9jf9ec6c
    @user-ww9jf9ec6c Жыл бұрын

    รักน้อนสฺปฺทฺ์โรซี่จนเป็นไข้กายแต่รักอาจารย์​แทนจนเป็นไข้ใจ

  • @user-em7ys1ir4o
    @user-em7ys1ir4o Жыл бұрын

    ขอบคุณมากค่ะ คุณหมอ🙏🙏🙏🙏🙏🙏👍👍👍👍👍♥️♥️♥️♥️♥️🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭

  • @user-gg3ip9ly6u
    @user-gg3ip9ly6u Жыл бұрын

    เกือบไม่ได้ฟังคลิปดีๆแล้วติตธุระค่ะ ขอบคุณคุณหมอมากๆเลยคะ🙏🏻ไม่เคยได้ฟัง ข้อมูลแบบนี้จากที่ไหนเลยเนื้อหาสำคัญและมีประโยชน์เลย ขอบคุณนะคะคุณหมอแทน🥰

  • @montripongkumpai1930
    @montripongkumpai1930 Жыл бұрын

    สุดยอดอีกแล้วครับ

  • @AvecBella
    @AvecBella Жыл бұрын

    This clip is jam packed with information, Doctor Tany. And I can truly see how much you enjoy teaching. It’s in your face, your eyes, your gestures. That’s simply so refreshing to see…❤️ Getting to the root cause of fever is more complex than one might think. Elevated body temperature might be caused by viral/bacterial infection, heat exhaustion, certain inflammatory conditions, medications, and some immunizations. This clip feels like a chapter off from Harrison’s on FEVER. Except the very Chapter is talking to Me! 😁 The note I took on your clips are in English. Forwarded this Fever Lecture to my best bud from college. Her response this AM was: “You took NOTE. Omg. It does remind me of college times!” (LOL) This clip made me look up and revisit the Arachidonic Acid Pathway. Thanks ka Doctor Tany! ♥️❤️♥️

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    Yay!!

  • @kanokpornmartinez9609
    @kanokpornmartinez9609 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะ คุณหมอ ป้าแพ้อากาศ ปวดหัว น้ำมูกไหล แต่ไม่มีไข้ ตลอดทั้งปี หนาวจัด ร้อนจัด ไม่หาย หาหมอ เหมือนเดิมจ้าา

  • @user-em7ys1ir4o
    @user-em7ys1ir4o Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะ คุณหมอ🙏🙏🙏🙏

  • @wonsilapattawee8134
    @wonsilapattawee8134 Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะหมอ เป็นคนที่เวลามีไข้จะหนาวสั่นมากๆค่ะ

  • @kanyamuay3748
    @kanyamuay3748 Жыл бұрын

    ศูนย์ควบคุมความร้อนในร่างกาย จากการศึกษาค้นคว้าในปัจจุบัน ทราบว่า สิ่งที่อยู่เบื้องหลังการควบคุมความร้อนหรือกลไกต่างๆ อยู่ที่สมองส่วนที่เรียกว่า ฮัยโปธาลามัส (Hypothalamus) สมองส่วนฮัยโปธาลามัสนี้อยู่ตอนล่างของสมองส่วนควบคุมอุณหภูมิของร่างกายของฮัยโปธาลามัสนี้อยู่ส่วนหน้าและส่วนหลัง ส่วนหน้าควบคุมไม่ให้อุณหภูมิสูงเกินไป ส่วนหลังจะควบคุมไม่ให้อุณหภูมิต่ำเกินไป

  • @witphron3585
    @witphron3585 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @pookpuir.9653
    @pookpuir.9653 Жыл бұрын

    พอดีเลยค่ะคุณหมอ ค่ำวานนี้ลูกหนาวสั่น มือเย็น แต่น้ำตาก็ไหลแบบจู่ๆก็ร้องไห้ค่ะ กินยาพาราสักพักดีขึ้น ไม่มีอาการอีกค่ะ สงสัยทำไมร้องไห้คะ ถามเค้าก็บอกไม่รู้มันไหลเอง ขอบคุณนะคะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻

  • @peatforspeed2044
    @peatforspeed2044 Жыл бұрын

    ฟังเพลิน ได้ความรู้ เรื่องใกล้ตัว ปวดหัวตัวร้อน กินยาพารา แล้วก็หาย แต่พอหมอมาลงรายละเอียดแล้วนึกภาพตามที่หมอพูด เทียบกับสิ่งที่เคยเห็น หรอเคยเป็นเอง รู้เพิ่มอีกเยอะ ขอบคุณหมอที่นำมาบอกเล่า

  • @kwantaboonian9065
    @kwantaboonian9065 Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะหมอแทน

  • @user-pw2tk1hi1k
    @user-pw2tk1hi1k Жыл бұрын

    เป็นข้อมูลที่มีความรู้มากๆคุณหมอ จำเก่งมากๆๆอัจฉริยะมากๆยา แต่ละยาเรียกก็ยากคนทั่วไปฟัง ก็สนุกดีนะค่ะเหมือนอยู่ในห้องเรียน😁😁 เคยรู้สึกเหมือน ตัวเราร้อนมีไข้อ่อนๆแต่วัดอุณหภูมิร่างกายปกติ เป็น อยู่บ่อยช่วงนึงจะเป็นช่วงเช้า คงจะเป็นจากอาการวัยทอง ใช่มั๊ยคะคุณหมอลงคลิป วัยทองก็น่าจะมีประโยชน์ ดีนะค่ะเหมาะกับผู้สูงวัย อย่างคนไข้😁😁 ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆค่ะ ฟังเพลินเลยถึงจะได้เป็นคลิป ที่เหมาะกับนักศึกษาแพทย์ มาฟังคนบ้านๆก็ได้ความรู้ดี มากๆๆค่ะ👍👍👍🙏🙏🙏

  • @user-xd4yy8qv3x
    @user-xd4yy8qv3x Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะ

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa Жыл бұрын

    คลิปใหม่มาแล้วค่ะ วันนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับ อุณหภูมิร่างกาย 🔹อุณหภูมิเท่าไหร่ถึงเป็นไข้ ท่านเคยสงสัยใช่ไหมคะ 🔹ทำไมเป็นไข้ตัวร้อน แต่มือเท้าเย็น ท่านเคยเป็นแบบนี้ไหมคะ 🔹ยาลดไข้ ทำงานอย่างไร ท่านเคยสงสัยเช่นกัน วันนี้คลิปของอาจารย์มาตอบทุกข้อสงสัยค่ะ เชิญเข้ามาฟังกันเลยค่ะ

  • @user-je2xs3wb8k
    @user-je2xs3wb8k Жыл бұрын

    ขอบคุณครับ คุณหมอพาน้องโรซี่มาออกคลิปด้วยนะครับ คิดถึงครับ

  • @FragranzaTrippa

    @FragranzaTrippa

    Жыл бұрын

    น้องจะอยู่ในช่องสมาชิกเป็นส่วนใหญ่ค่ะ แต่มีคลิปที่โรซี่ออกคลิปกับอาจารย์นะคะ คลิปเรื่อง _สิ่งของติดคอ จะรู้ได้อย่างไร แก้ไขอย่างไร_ kzread.info/dash/bejne/dn-turGTn7LTfrw.html

  • @Longfuglea
    @Longfuglea Жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับ

  • @user-ur7pw9gz8n
    @user-ur7pw9gz8n Жыл бұрын

    สวัสดีคะคุณหมอ

  • @user-qt7ym1nj5r
    @user-qt7ym1nj5r Жыл бұрын

    ดูคุณหมอมีความสุขในการถ่ายทอดมากเลยค่ะ ขอบพระคุณสำหรับความรู้และความสุขใจที่สัมผัสได้ ส่งให้คนไทย ค่ะ 👍👍👍

  • @srisudad7207
    @srisudad7207 Жыл бұрын

    ขอบพระคุณอาจารย์หมอแทน​ ที่นำเรื่องที่เป็นประโยชน์มาให้ความรู้พวกเราทุกวันค่ะ🙏❤️🙏

  • @pornpenong-arj147
    @pornpenong-arj147 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะคุณหมอ

  • @user-ep1qw3oj6f
    @user-ep1qw3oj6f11 ай бұрын

    อ่อ เข้าใจแล้วค่ะ ก็ยังว่าอยู่ว่า ทำไมลูกชอบมีไข้ตอนกลางคืนค่ะ

  • @rinkorinrinrin
    @rinkorinrinrin Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะ คุณหมอ

  • @user-tl3xv4vy9w
    @user-tl3xv4vy9w Жыл бұрын

    อาการแบบนี้เลย

  • @liverpoolfowler7587
    @liverpoolfowler7587 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆครับ ได้เข้าใจกลไกร่างกายอย่างถ่องแท้ จะได้หายสงสัยว่าทำไมตอนเย็นถึงตัวร้อนมาก จริงๆเป็นตามธรรมชาติ แต่สงสัยว่าแฟนผมอายุ45 ตอนกลางคืนมีอาการตัวร้อนมากแบบที่ว่าเวลาเอามือไปแตะตัว ผมรู้สึกสะดุ้งโหยงเลยครับยังกับไปจับแก้วน้ำร้อน ไม่รู้ว่าเพราะอะไร เกี่ยวกับการที่เริ่มมีภาวะไตเสื่อมระยะ2หรือไม่ครับ

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    ไม่เกี่ยวครับ อาจจะเพราะมือเราเย็นเองมากกว่าครับ

  • @KOLET199
    @KOLET199 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์ (พุธ12/10/2565).

  • @maneeann
    @maneeann Жыл бұрын

    Neuroleptic malignant syndrome (NMS) เป็นหนึ่งในภาวะฉุกเฉินทางระบบประสาทที่อันตรายถึงชีวิต เกิดเนื่องจากการใช้ยาต้านโรคจิต และการใช้ยาอื่นๆ ที่ออกฤทธิ์เป็น dopamine antagonist หรือการหยุดยา dopamine agonist อย่างฉับพลัน

  • @Spt_N_25
    @Spt_N_25 Жыл бұрын

    🧊🧊🧊ยินดีด้วยค่ะ ยอดติดตาม314🧊🧊315แสนค่ะ🧊🧊🧊🧊🧊 🧊ช่วยกดติดตามกันด้วยค่ะ🧊🧊ขอบคุณมากค่ะ🧊🧊

  • @somsukinabnitruenpraphat1606
    @somsukinabnitruenpraphat1606 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะ คุณหมอ ขอบคุณที่มาให้ความรู้และการดูแลสุขภาพค่ะ

  • @pnv2565
    @pnv2565 Жыл бұрын

    lecture ชัดๆ 555 นั่งฟังเพลินๆ ขอบคุณมากครับ

  • @jittima5894
    @jittima5894 Жыл бұрын

    สวัสดีค่ะ คุณหมอ คลิปนี้ถูกใจมากๆเลยค่ะ คุณหมอ … ให้ความกระจ่างในเรื่องที่สงสัย แต่ไม่รู้จะถามใครอ่ะค่ะ… ขอบพระคุณคุณหมอมากเลยค่ะ ที่ทำคลิปให้ความรู้มาโดยตลอด มีเรื่องขอเรียนถามค่ะว่า ในเด็กเล็ก การวัดปรอทแบบยิงที่หน้าผาก กะเสียบซอกรักแร้ แบบไหนให้ค่าอุณหภูมิร่างกายถูกต้องกว่ากันคะ ขอบพระคุณค่ะ

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    ได้ทั้งคู่ครับ ปรอทรุ่นใหม่ๆมีการปรับให่อ่านค่าได้ถูกต้องมากขึ้นแม้จะไม่ได้วัดที่ปากหรือก้นครับ

  • @jittima5894

    @jittima5894

    Жыл бұрын

    @@DrTany ขอบพระคุณค่ะ

  • @nuy7477
    @nuy7477 Жыл бұрын

    1กย.มีไข้ หนาวสั่นปวดตามตัว ปวดหัวมากๆ ทานพาราทุก4 ชม. วันนี้3 กย. หายแล้ว แต่คืนแรกปวดหัวมากๆเลยค่ะ

  • @jubjangka9644
    @jubjangka9644 Жыл бұрын

    ฟังเพลิน ๆ อย่างที่คุณหมอบอกเลยค่ะ ดีใจกับ นศ แพทย์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาได้รับความรู้รวมถึงบุคคลทั่วไปที่เข้ามาฟังด้วยขอบคุณที่สละเวลามาให้ความรู้ค่ะคุณหมอ ขอรบกวนสอบถามคำถามที่ไม่เกี่ยวกับคลิปซักหนึ่งคำถามคือถ้าเราเคยเป็นไข้หวัดใหญ่ H1N1 ไปแล้วเรายังต้องไปฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่อยู่ไหมคะ ขอบพระคุณค่ะคุณหมอ 😊

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    ต้องฉีดทุกปีครับ

  • @jubjangka9644

    @jubjangka9644

    Жыл бұрын

    @@DrTany ขอบคุณค่ะคุณหมอ 🙏🙏

  • @thanshin6898
    @thanshin6898 Жыл бұрын

    ยาลดไข้บาคามอลดีนะ เราชอบใช้

  • @armnakornthab6867
    @armnakornthab6867 Жыл бұрын

    Hyperpyrexia น่าจะมาจาก ตัวร้อนเหมือนไฟ เพราะ pyro แปลว่าไฟ ครับ

  • @user-zl7wb8uu8q
    @user-zl7wb8uu8q Жыл бұрын

    สวัสดีครับหมอ รอดมาตลอดมาวันนี้ตรวจมาเจอ2ขีดแล้ว

  • @DrTany

    @DrTany

    Жыл бұрын

    รักษาตัวด้วยครับ

  • @sunsnap1317
    @sunsnap13177 ай бұрын

    ผมเจอใน TikTok บอกว่ามีไข้ให้เช็ดตัวแรงๆให้ผิวแดงทำให้เส้นเลือดฝอยขยายตัวทำให้ไข้ลดจริงมั้ยครับหมอ ขอบคุณมากครับหมอ

  • @DrTany

    @DrTany

    7 ай бұрын

    แค่เชื่อ Tiktok ก็ผิดแล้วครับ ...มันไม่ต้องเช็ดแรงครับ

  • @maneeann
    @maneeann Жыл бұрын

    ปกติแล้ว คนเรามีอุณหภูมิร่างกายเฉลี่ยอยู่ที่ 37 องศาเซลเซียส ซึ่งร่างกายจะมีกลไกในการรักษาระดับของอุณหภูมิเพื่อให้ระบบต่าง ๆ ทำงานได้เป็นปกติ 🥶 หากสภาพแวดล้อมหนาวเย็น ร่างกายก็จะสั่งให้ร่างกายสั่นเพื่อเพิ่มความอบอุ่นให้กับร่างกาย 🥵 หากสภาพแวดล้อมร้อนกว่าอุณหภูมิร่างกาย ร่างกายก็จะเริ่มขับเหงื่อเพื่อทำให้ร่างกายเย็นลง ซึ่งภาวะ Hyperthermia นั้นเกิดจากการที่ร่างกายสัมผัสกับความร้อนอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดความร้อนสะสม และไม่สามารถระบายออกได้ทัน จนทำให้เกิดความผิดปกติขึ้น 🏜 หนึ่งในภาวะ Hyperthermia คือโรคลมแดดหรือฮีทสโตรก(Heatstroke) นั่นเอง ภาวะตัวร้อนเกินมีด้วยกันหลายระยะ แต่ละระยะจะมีอาการและความรุนแรงที่แตกต่างกัน หากเริ่มเห็นสัญญาณของ Hyperthermia ก็ควรหาวิธีเพื่อลดอุณหภูมิร่างกายเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น

  • @kanyamuay3748

    @kanyamuay3748

    Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะ

  • @maneeann
    @maneeann Жыл бұрын

    Hyperthermia และอาการไข้ Fever มีความคล้ายกัน แต่ไม่ใช่อย่างเดียวกัน 🥶 Fever อาการไข้เกิดจากกลไกของระบบภูมิคุ้มกันร่างกายตอบสนองต่อการติดเชื้อ ด้วยการเพิ่มอุณหภูมิร่างกายเพื่อกำจัดเชื้อโรค 🥵 Hyperthermia เกิดจากการสะสมความร้อนจากสภาพแวดล้อมภายนอกและปัจจัยภายในร่างกาย โดยที่ร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนออกได้ทัน หรือกลไกในการระบายความร้อนทำงานได้น้อยลง อย่างการขับเหงื่อ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าความผิดปกติทั้งสองอย่างมีสาเหตุที่แตกต่างกัน ทำให้การรักษาแตกต่างกันไปด้วย

  • @kanyamuay3748

    @kanyamuay3748

    Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะน้องแอน

  • @maneeann

    @maneeann

    Жыл бұрын

    @@kanyamuay3748 😘😘

  • @Jum.A1
    @Jum.A1 Жыл бұрын

    🤩วันนี้ได้รับความรู้จุใจเลยค่ะคุณหมอ🤩 “เป็นไข้” เป็นเรื่องที่น่าจะเคยมีประสบการณ์กันทุกคน ดูเหมือนเป็นเรื่องธรรมดาแต่มีความสำคัญมาก ทุกคนควรฟังคลิปนี้ไว้เป็นความรู้จะได้มีความเข้าใจเรื่องการเป็นไข้และการจำแนกอาการไข้เพื่อไว้ดูแลตัวเองและครอบครัวได้ค่ะ ดูคลิปคุณหมอทุกวัน ได้รับความรู้ทุกวัน ขอบคุณคลิปดี ๆ ที่คุณหมอตั้งใจทำและเผยแพร่ทุกวัน ติดตามและเป็นกำลังใจให้คุณหมอทุกวันค่ะ 😊

  • @user-cc9gf6oe5b

    @user-cc9gf6oe5b

    Жыл бұрын

    มาสอบถามนะวัดตอนเย๊น ได้ 100 องศา ควรไปพบแพทย์ไหม

  • @Jum.A1

    @Jum.A1

    Жыл бұрын

    @@user-cc9gf6oe5b หน่วยคือฟาเรนไฮต์ใช่ไหมคะ

  • @user-cc9gf6oe5b

    @user-cc9gf6oe5b

    Жыл бұрын

    @@Jum.A1 เอาโทรสับวัด ตอนนี้หนาว ยุบ้านคนเดว แม่กะไปวัดกันหมด

  • @user-cc9gf6oe5b

    @user-cc9gf6oe5b

    Жыл бұрын

    ตอนนี้ตัวร้อน1ชั่วโมงแล้ว หนาวจังแต่จะร้อน ไอด้วย

  • @Jum.A1

    @Jum.A1

    Жыл бұрын

    @@user-cc9gf6oe5b เดานะคะว่าหน่วยที่วัดได้คือฟาเรนไฮต์ 100 องศาฟาเรนไฮต์ = 37.7778 องศาเซลเซียส ถือว่ามีไข้ต่ำ ๆ ค่ะ ทานยาลดไข้ (พาราเซตามอล) ดื่มน้ำอุณหภูมิห้องสัก 2 แก้วแล้วนอนพัก หากอาการยังไม่ดีขึ้นควรไปพบแพทย์ค่ะ

Келесі