อาณาจักรฟูนัน โดย ศาสตราจารย์ ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงเรียบเรียง

Ойын-сауық

อาณาจักรฟูนัน โดย ศาสตราจารย์ ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงเรียบเรียง ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรฟูนันอาจแบ่งได้เป็น 2 สมัย คือ ก่อนรัชกาลของพระเจ้าโกณฑินยะชัยวรมันและสมัยตั้งแต่รัชกาลของพระเจ้าโกณฑินยะลงมา

Пікірлер: 244

  • @hawkchanel5379
    @hawkchanel5379 Жыл бұрын

    ขอมไม่ใช่เชื้อชาติแต่เรียก​ ยุคสมัยเรียกโดยรวม​ เรียกกลุ่มวัฒนธรรมที่สร้างปราสาทหินว่าชาวขอม​ และนับถือพราหมณ์เป็นส่วนใหญ่ แต่พวกที่นับถือไท้แถนว่า​ คนไท พวกนับถือดาว​ดวงจันทร์ว่า​ คนลาว ขอม​ แปลว่า​ ชาวใต้​ พวกที่อยู่ดินแดนใต้จากลาว​ ใต้จากพุกาม​ ใต้มอญรามัญ​ บางยุคนำมา​ใช้เรียกคนที่อยู่ฝั่งขวาของน้ำเจ้าพระยา​ บางสมัยโดนขับไล่และที่หลงเหลือก็ถอยร่นเข้าไปในเขมร​ ขึ้นอยู่กับเจ้าผู้ชนะและเข้าครองกรุงยุคของใคร เพราะมันเป็นการช่วงชิงกันของอำนาจ​ แล้วแต่ความเชื่อ​ ทั้งๆที่คนท้องถิ่นยังเป็นชนเผ่า​ แต่ผู้เข้ามาคือชนอพยพ​ มีวัฒนธรรมอินเดีย​ แม้แต่ชื่ออินโดนีเซียก็คือพวกอินโดอารยันถอยร่นลงมาจากอินเดียแล้วต่อเรือมาค้าขายในแหลมอินโดจีนเมื่อเห็นดินแดนใหม่มีวิชานากินศาสตร์ศิลป์มากกว่าก็ได้ปกครอง​ มีวัฒนธรรมก็เลยตั้งเป็นอาณาจักรขึ้น​ ดังนั้นคำว่า​ ขอม​ คือชื่อวัฒนธรรม​ มิใช่เชื้อชาติ​ แต่ประการใด ใครอาศัยอยู่แดนใต้อินเดียพม่าลาวลงมาเป็นพวกขอม​ พอต่อมาชาวไทย​ชาวสยามขึ้นครองก็ไล่พวกคนวัฒนธรรมขอมออกไป​ รับวัฒนธรรมก่ออิฐถือปูนมาใช้แทนการสลักหิน​

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากเลยค่ะ

  • @user-ml1nd3ze7j

    @user-ml1nd3ze7j

    10 ай бұрын

    แล้วภาษาขอมละครับ.. เกิดได้อย่างไร.. ช่วยกันเหรอ..?

  • @user-cl2du9bi6g

    @user-cl2du9bi6g

    9 ай бұрын

    ภาษาขอมไทยในอดีตมาจากไหน

  • @lynthongsirima103

    @lynthongsirima103

    9 ай бұрын

    พยู ศรีเกษตร เก่าแก่ที่สุด แต่ไม่ค่อยมีใคร ทำรายการเพราะ มันนานมาก

  • @user-hz6jy4mc9g

    @user-hz6jy4mc9g

    9 ай бұрын

    มอญ พยู ลาว ขอม คือสยาม สยามคือไทย

  • @user-rl6et1cg9w
    @user-rl6et1cg9w Жыл бұрын

    ฟูนันอยู่ในประเทศไทย

  • @wiwioto6898
    @wiwioto6898 Жыл бұрын

    พงศาวดารท้องถิ่นนั้นน่่าสนใจมากกว่าการตีความของฝรั่งเศส ...ภาษาพูดท้องถิ่นในหลายจังหวัดในอีสาน และกลุมคนพื้นถิ่น เช่น ศก สร บล บรู โซ่ ข่า ลัวะ กูย ที่ถูกตีความเหมาว่าคือเขมร มีภาษาพูดเป็นของตนเอง ไม่ใช่ภาษาเขมร

  • @kuaijabkaitoon1668
    @kuaijabkaitoon1668Ай бұрын

    ที่แน่ๆคือสยามหรือประเทศไทย ไม่เคยรังเกียจดูแคลนชนชาติใดที่มาทำมาหากิน อพยพมา หรือ มาตั้งรกราก ผสมรวมกับ คนพื้นเพเดิม คนไทยรักสงบ ถ่ายทอดวัฒนธรรม ภูมิปัญญาที่สูงส่งสืบต่อมารุ่นสู่รุ่น ไม่ว่าจะเจ้าจะข้าจากฝั่งไหนต้องลี้ภัยการเมืองมาไทยก็รับอนุเคราะห์ ไว้หมด ประเทศไทยถึงได้เจริญรุ่งเรือง งอกงาม กลายเป็นชนชาติที่หลากหลาย และทรงภูมิปัญญา ไปอยู่ที่ไหนก็มีแต่ความเจริญความศิวิไล ไม่ชอบทะเลาะเหยียดหยามดูถูกชาติใด. เพราะคนไทยดินแดนสุวรรณภูมินี้ มีหลากหลายชาชาติผสมรวมกัน นิสัยคนไทยจึงไม่นิยมแบ่งแยกเกลียดชังและดูแคลนชาติใด จะเห็นว่าแม้แต่ประเทศฝรั่งเศสที่มาฉกดินแดนทั้งฝั่งลาว ฝั่งเขมรไป ไทยก็ไม่เคยเกิดความเกลียดชัง ไม่มีทัศนะคติแค้นฝังหุ่น เพราะคนไทยเข้าใจดีถึงวิวัฒนาการของแต่ละยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ดังนั้นวัฒนธรรมในเขตนี้คือวัฒนธรรมร่วมสมัยกัน การจะอ้างสิทธิ์ใดๆแต่เพียงผู้เดียวก็ควรยึดถือจากปัจจุบันตามหลักฐานมิใช่จะแอบอ้างไปทุกสิ่งอย่าง เพราะแม้แต่นครวัด นครธมเองก็สร้างมาจากกษัตริย์ที่มีต้นตระกูลจากฝั่งไทยในปัจจุบัน และถึงแม้จะเป็นกษัตริย์จากราชวงศ์เชื้อสายฝั่งไทย ก็เป็นการรวมวัฒนธรรมผ่านทางการแต่งงานทางเครือญาติ โดยสายเลือด เป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาแต่ละรุ่นๆ สั่งสมอย่างงดงาม. มิใช่การแอบอ้าง จากตำราใดๆ ส่วนเขมรปัจจุบัน ก็ได้ กลับไปเป็นดีเอ็นเอ จาม เพราะแตงหวานได้โค่นล้มราชวงศ์เชื้อสายฝั่งไทยที่ปกครองเขมรมากว่า 300 ปีแล้ว รุ่นต่อไปก็อาจจะเป็นเชื้อสายไทยไปปกครองอีก เพราะที่ตั้งของเขมรหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของประเทศใหญ่2 ข้าง อย่างไทย และเวียดนาม

  • @santhisookyenjai9700
    @santhisookyenjai97002 ай бұрын

    เพื่อเป็นข้อมูลเติมในกระเป๋าความรู้ครับ บันทึกจากหยวนสื่อ "เซียนแลหลัวฮู เดิมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรฟูหนาน บริเวณตอนเหนือของเซียนติดต่อกับปาไป๋ซี่ฟู่ ที่อยู่ติดกับมณฑลหยูหนาน ทางตะวันออกติดต่อกับอันหนาน แลทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับอาณาจักรเมียน หลัวฮูตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเซียน ติดกับทะเล ดินแดนเซียนแห้งแล้งไม่เหมาะแก่เกษตรกรรม หลัวฮูมีที่ราบกว้างใหญ่ ผลผลิตอุดมสมบูรณ์ ชาวเสียนต้องพึ่งพาอาศัยจากหลัวฮู มีแม่น้ำสายใหญ่ไหลจากเซียนผ่านหลัวฮู่ ลงสู่ทะเลทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของหลัวฮู่ ทุกฤดูร้อนน้ำทะเลไหลเข้าสู่แม่น้ำตอนใน ชาวนาจะอาศัยเวลาดังกล่าวหว่านเมล็ดพันธุ์ ต้นกล้าค่อยฯฯ เติมโตตามระดับน้ำ น้ำสูง 1 ฉื่อ ต้นกล้าสุง 1 ฉื่อ เมื่อนำลดต้นกล้าจะสุกพร้อมเก็บเกี่ยว มีการหว่านเมล็ดพันธุ์ แต่ไม่มีการไถหว่าน ด้วยเหตุนี้พึชพันธุ์ทันยาหารอุดมสมบูณ์แลราคาถูก" Note: ปาไป๋ซี่ฟู่ (อาณาจักรล้านนา) อันหนาน หรืออันนัม (บริเวณเวียดนามเหนือ) อาณาจักรเมียน (อาณาจักรพุกาม พม่า) มีแม่น้ำสายใหญ่ไหลจากเซียนผ่านหลัวฮู่ ลงสู่ทะเลทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของหลัวฮู่ (น่าจะหมายถึงแม่น้ำโขง) อ้างอิงจากคลิปคุณหอย HOY APISAK-OFFICIAL นาที 40.05 kzread.info/dash/bejne/Z2mLr7WCqLKdoNI.html

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    2 ай бұрын

    ขอบคุณค่ะ

  • @duangkaejanikorn6394
    @duangkaejanikorn6394Ай бұрын

    ❤(เมืองฟูนัน/เมืองนครชัย)❤ (เจนละบก/ตอนกลาง) อยู่ในเขตอีสานใต้ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่(จ.สุรินทร์) ส่วน(เจนละนํ้า) เป็นเมืองท่า ของฟูนัน มีอยู่หลายเมือง เช่น เมืองออกแก้ว/เมืองนครธรรม เป็นต้น

  • @wichaichaekhachad3256
    @wichaichaekhachad3256 Жыл бұрын

    ในบันทึก ล้านนา ก่อน อาณาจักร ล้านนา จะ ก่อตั้งขึ้น 400ปีเคยเป็นเมืองขึ้นของ กรอม หรือ เขมรล่าง ยุคนั้นเป็นยุคดีบุกตอนปลาย กรอมไปหาแร่ดีบุกถึง ยูนนาน แสดงว่า กริม มีอิทธิพลมาก เพราะ ปราบโครตบูร ล้านช้าง เชียงแสนหิรัญเงินยาง ดูแล้ว ปี500- 1,500 ยุคเดียวกับทราวดี เลย แต่ ฟูนัน ผลัดเปลี่ยน เป็น ขอมโบราณประมาณ ปี 1,200 ยุค สุริยวรมัน ขณะที่ มอญ หรือ ทราวดี ก็ล้มสลาย ประมาณปลายปี 1500 พร้อมกับ ขอมโบราณ อาณาจักรล้านนาและ สุโขทัย จึงครอบครอง สุวรรณภูมิ แต่ พม่านั่นเป็นชนกลุ่มน้อย ชิงอำนาจได้จาก หงษ์สา ชาวหงสา เลยไปที่อาหม อินเดีย ,ปราบ ชาวรามัญ,เมืองคลัง และหัวเมืองใหญ่ อย่าไทใหญ่ รวมถึง พวก มอญ หรือ ชนเผ่าอื่น ตีล้านนาเชียงใหม่ ได้, ยกพลมารวมกับ พิดโลก มาล้อม อโยธยา จะเห็นว่า ฟูนันนั้น ก็ ย้อนกับหลังเยอะ คือ เวียดนามใต้เขมรและ ละโว้ นั้นเอง พอกับ อาณาจักร พุกาม

  • @user-zz9kk7wh9s
    @user-zz9kk7wh9sАй бұрын

    ขอบคุณวำหรับความรู้คับ ละเอียดดีมาก นำเสนอข้อมูลทั้งสองฝ่าย

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    Ай бұрын

    ขอบคุณค่ะ

  • @wiwioto6898
    @wiwioto6898 Жыл бұрын

    ถ้ามีร่องรอยการบูชายัญด้วยมนุษย์ มีทีเดียวในเผ่าพันธุ์จากลิงคะ คือ ชาวกูย ในปัจจุบัน ...ในอินเดียก็มีการบูชายัญด้วยมนุษย์ และที่ลาวก็มีร่องรอยดารบูชายัญด้วยมนุษย์ มีพวกเดียวที่ทำ คือชาวลิงคะ จากอินเดีย ทั้งสักยันต์ เวทมนตร์คาถา ปัจจุบันเรียกชาวกูย ไม่ใช่เขมร

  • @saethawatchamsart9587
    @saethawatchamsart9587 Жыл бұрын

    ทั้งอาณาจักรฟูนัน และจามปา(หลินยี่) เป็นมิตรกันเนื่องจากต่างก็มาจากอินเดีย สองอาณาจักรนี้ไม่เคยปรากฎการรบกันเลย

  • @user-ts2il4jh6o

    @user-ts2il4jh6o

    Жыл бұрын

    น่าสนใจประเด็นนี้

  • @Chapattaya

    @Chapattaya

    8 ай бұрын

    ฟูนัน สำเนียงจีน คือ พนม ๆคือภูเขา คนพนมมือก็กระพุ่มมือเหมือนภูเขา ชาวไร่ขุดดินเป็นพนม ไว้ปลูกผัก ข้างเป็นร่อง พนมคือภูเขาสำคัญ จึงเรียกอาณาจักร พนม พนมมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ชาวพนมจึงเรียกชื่อแผ่นดินนั้นว่าพนม ฉาน ชาน เชียน เสียน เซียม เสียม พวกซาน คนภูเขา อาณาจักรภูเขา จากเซียน เซียน เป็น เชียง เจียง เวียง ถ้าพญาเม็งราย สร้างเมืองเชียงราย เป็นไปได้ไหมว่า เชียงราย สำเนียงจีนว่า zhien la

  • @weerahemrugrote7802

    @weerahemrugrote7802

    7 ай бұрын

    อาจไม่ได้มาจากอินเดียแต่มีติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยน ส่งบรรณาการแลกวิทยาการกัน

  • @kojb5561

    @kojb5561

    6 ай бұрын

    อาจจะเป็นเชียงรายอย่างที่ว่า​@@Chapattaya

  • @tigerdragon3015
    @tigerdragon301523 күн бұрын

    ฟูนันน่าจะเป็นอินเดียผสมกับชนพื้นเมืองเวียดนาม พวกเขมรกัมพูชาในปัจจุบันไม่มีความเกี่ยวข้องกับฟูนันเลย มันเพิ่งเข้ามาในดินแดนนี้ในยุคสร้างนครวัด

  • @phrakhrusriprichagornboony665
    @phrakhrusriprichagornboony665 Жыл бұрын

    ในสุวรรณภูมิ กว้างใหญไพศาล ประกอบด้วยชนชาติหลายชนเผ่า ที่พวกเราได้เรียนรู้เป็นเพียง ชนชาติที่มีความเจริญด้านวัฒนธรรมภาษาสื่อสาร การดำรงค์ตนการสร้างเมืองตั้งตนเป็นผู้ปกครอง คือ มอญ ขอม จาม ศรีวิชัย สุโขทัย อยุธยา แต่อดีต พวกเราควรเรียนรู้ประสบการณ์ปัญญาความสามารถของคนในอดีด เพื่อแก้ไขปัจจุบันที่พวกเราดำรงค์ตนอยู่ ใก้ถูกต้องเป็นธรรมทุกฝ่ายที่เป็นเพื่อนในแต่ละประเทศ ถ้าใครเรียนรู้แล้วหลงตามอารมณ์โกรธเกลียดตามคนในอดีตก็แสดงว่า เรียนรู้เพื่อสร้างปัญหาให้มิตรและตนเองในโลก

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากเลยค่ะ

  • @quitplayingboss609

    @quitplayingboss609

    2 ай бұрын

    😊❤😊

  • @user-wx4ej4oc3p
    @user-wx4ej4oc3p Жыл бұрын

    ประวัติศาสตร์อินโดจีน จากบันทึกจีนน่าเชื่อถือที่สุดครับ

  • @win4598

    @win4598

    Жыл бұрын

    อินโดอินเดียมากกว่า จีนเพิ่งเข้าผสมทีหลัง

  • @user-sh8ve6xl7q

    @user-sh8ve6xl7q

    Жыл бұрын

    จีนเขาเป็นเมืองขึ้นใครเขาบันทึกหมด ราชวงศ์หยวนคือ มงโกล เขาก็บันทึกชื่อว่าหยวนสื่อลู่ หมิ่งสื่อลู่ จีนปกครอง แมนจู ปกครองจีน ชิงสือลู่ สยามอยู่ใต้การปกครอง ทั้งหยวน หมิ่ง และชิง แมนจู

  • @user-ts2il4jh6o

    @user-ts2il4jh6o

    Жыл бұрын

    ​@P2P Connect จีนเพิ่งเดินเรือเป็นจริงๆครับ

  • @vbvn5732

    @vbvn5732

    Жыл бұрын

    ​@@user-ts2il4jh6o น่าจะสมัยยุคเจิ้งเหอ ส่วนนครวัด นครธม สร้างใกล้เคียงสมัยสร้างบุโรพุทโธ ในอินโดนีเซีย

  • @blinkblinkth506

    @blinkblinkth506

    Жыл бұрын

    ลืมเจงกิสข่านกันไปป่าว

  • @user-zl4dj9hr9c
    @user-zl4dj9hr9c Жыл бұрын

    พวกสารคดี เกี่ยวกับอดีต ผมไม่เคยสนใจความถูกต้องเป๊ะๆ ตามความจริง ผมดูเน้นบันเทิง สาระคร่าวๆ

  • @MISTERDUPEEDUPEE-mc4pp
    @MISTERDUPEEDUPEE-mc4pp Жыл бұрын

    มีเหรียญทองฟูนันอยู่4อัน

  • @quitplayingboss609
    @quitplayingboss6092 ай бұрын

    😊❤❤❤

  • @papinwitnuamnaka3217
    @papinwitnuamnaka3217 Жыл бұрын

    อาณาจักรฟูนันมีปฐมกษัตริย์คือเจ้าชายรามเทพ พระบรมอัตฐิของท่านอยู่ปราสาทเขาพระวิหาร...ยุคต่อมาคือพระเจ้าโกฑัณญะวรมัน ศูนย์กลางคือเมืองศรีเทพ จ.เพชบูรณ์

  • @user-yp2gk3xh6h

    @user-yp2gk3xh6h

    Жыл бұрын

    มีวรมันมาอยู่ที่เมืองศรีเทพด้วยหรือครับ 8-9ปีที่แล้ว เคยไปที่เมืองศรีเทพครั้งหนึ่ง เคยไปไล่อ่านบันทึกที่อยู่ในพิพิธภัณฑ์เมืองศรีเทพ แต่ก็จำรายละเอียดไม่ได้แล้ว ถ้าได้ไปอีกสักครั้งจะไปอ่านบันทึกให้ละเอียดขึ้น

  • @user-ts2il4jh6o

    @user-ts2il4jh6o

    Жыл бұрын

    ได้ข้อมูลมาจากไหนครับ

  • @papinwitnuamnaka3217

    @papinwitnuamnaka3217

    Жыл бұрын

    @@user-ts2il4jh6o ถ้าผมบอกว่าผมรู้มาจากคนที่ปกครองสมัยนั้นจริงๆคุณต้องว่าผมบ้าแน่55..เอาเป็นว่าผมอิงกับบันทึกของจีน อินเดีย ศรีลังกา มากกว่าพวกฝรั่งเศษครับ.

  • @panupongnu8756

    @panupongnu8756

    10 ай бұрын

    เห็นด้วยครับ ตามที่ตามดูจากคนศึกษา

  • @klom15thailand

    @klom15thailand

    8 ай бұрын

    เวรกกรรม อารยธรรมคนเถื่อนที่เพิ่งออกจากถ้ำ ไม่มีความรู้สถาปัตยกรรมอะรัยเลย หากินที่ลุ่มสามเหลี่ยมโขง เพ้อเจ้อ

  • @user-cr8yj4kw6h
    @user-cr8yj4kw6h Жыл бұрын

    ดินแดนสมัยก่อนกว้างใหญ่ต่างคนต่างมีผู้นำเป็นเขตเรียกง่ายๆคือจังหวัดของใครของมันเวลาล่วงเลยก็ล่าดินแดนกันเองใครแพ้ก็โดนยึดคนเก่งก็ยึดเพิ่มไปเรื่อยๆจนกลายเป็นอาณาจักร์ใหญ่ประเพณีหลายเผ่าเ ามารวมกันดัดแปลงบ้างไห้ไปตามยุคสมัยสมัยก่อนสยามคนหลายเชชื้อชาติมารวมกันขยายพื้นที่ไปลาวเขมรจนยุโรปมาแยกเหนือไต้ก็เช่นกัน

  • @channel-hb9rv
    @channel-hb9rv9 ай бұрын

    อาณาจักรฟูนัน อยู่ห่างจากอาณาจักรจำปาไปทางทิศตะวันตกประมาณ3,000ลี้ หรือประมาณ 1,500กิโลเมตร มันก็ตรงพอดีกับเมืองศรีเทพหรือนครปฐมของเรา 😊

  • @klom15thailand

    @klom15thailand

    8 ай бұрын

    แตรดเถอะ แหกตาดูแผนที่โลก ฟูนันอยู่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง เป็นเป็นอารยธรรมคนเถื่อน FunanCivilization ตั้งแต่คริสตวรรษที่@1CE เขาก้ยังบรรยายว่า ChamKingdom อยู่เหนือขึ้นมาจาก FunanCivilization ก้ยังดันทุรังลากเอาไปภาคกลางสยาม โชวโง่ให้อายเขาอีก

  • @DK-kn3bg
    @DK-kn3bg Жыл бұрын

    เราคือเจนละ คนจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นจังหวัดหนึ่งที่ในภาคอีสานกลับแตกต่างออกไป เพราะสุรินทร์พูดเขมร กินข้าวเจ้า และมีวัฒนธรรมคล้ายเขมร 1. ทางแผ่นดินสูงตอนเหนือ ได้แก่ ภาคอีสานและฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง (ลาว) เรียกว่า เจือนเลอหรือเจนละบก ชาวพื้นเมืองเดิมอารยธรรมลุ่มน้ำมูลและขอม(ปัลลวะ), เผ่านิกริโต 2. แผ่นดินต่ำตอนใต้จดชายทะเล (เขมร) เรียกว่า เจนละน้ำ เป็นชนเผ่าใหม่ที่เกิดจากการผสมระหว่างชาวพื้นเมืองเดิมกับเผ่าเนกริโต (Negrito) และเผ่าเมลาเนเชียน (Melanesian) ชาวเจนละบก มีอิทธิพลในดินแดนที่ราบสูงอีสาน มีการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ความเจริญรุ่งเรืองและมีอำนาจในบริเวณนี้ ค้าขายกับพวกทราวดี ศรีเทพ ทางออกทะเลของอาณาจักรอยู่ที่เมืองพเนียด จันทบุรีแต่ภายหลังเจนละบกต้องตกเป็นเมืองขึ้นของเจนละน้ำ นานๆ เข้าก็กลายเป็นขอมปนเขมร ล่วงมาหลายชั่วอายุคนก็กลายเป็นเขมรไปโดยสมบูรณ์ พวกขอม(คนไทยเรียก ไม่เคยเรียกตัวเอง เดี๋ยวเคลมไรไม่ได้) ที่อยู่ในถิ่นเดิมก็ค่อยๆ หมดไป ชาวสุรินทร์เรียกตนเองว่า ขแมร์เลอ แปลว่า เขมรสูง และเรียกชาวกัมพูชาว่า ขแมร์กรอม แปลว่า เขมรต่ำ, ภาษาเขมรที่คนสุรินทร์ใช้พูดกันที่ไม่เหมือนกับภาษาเขมรในกัมพูชา, วิถีชีวิตและลักษระนิสัยก็ไม่เหมือนกัน วัฒนธรรมขอม(คนไทยเรียก ไม่เคยเรียกตัวเอง เดี๋ยวเคลมไรไม่ได้)กับเขมรจึงปะปนกันอยู่ด้วย เช่นนี้จึงพอกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมของชาวสุรินทร์ ก็คือ วัฒนธรรมเขมรที่สืบทอดมาจากชาวขอมโบราณนั่นเอง มโหรีพื้นบ้านสุรินทร์ kzread.info/dash/bejne/Y5am0rClcsWbkso.html อิทธิพลลิเกจากภาคกลางโหมโรง มีเสียงระนาด นิยมแสดงชูชกเขมร พระเวชสันดรเขมร kzread.info/dash/bejne/X2hslbuBlrKYprA.html เสียงซอกันตรึม kzread.info/dash/bejne/gquXrbGMdLWWk7A.html กันตรึมหญิง เจน สายใจ kzread.info/dash/bejne/ioRlyMuQmNencpM.html กันตรึมชาย พรศักดิ์ ส่องแสง kzread.info/dash/bejne/dKWh04-qeJnYZJM.html กันตรึมสังสรรค์ kzread.info/dash/bejne/dK5orMuhftLem8Y.html ท่าเรือมมาตรฐาน อัปสราสราญ สุรินทร์ kzread.info/dash/bejne/gYiF2ruOc6a1lrQ.html ท่าเรือมอํปฺสฺราศีขรภูมิ ปราสาทศรีขรภูมิ kzread.info/dash/bejne/pKyJuNBwiLnLlps.html ท่าเรือมเนียงฮ็อธฺธมฺ ศรีจันทรา ปราสาทภูมิโปน kzread.info/dash/bejne/dGuilsh-lr3WidY.html เรือมบูชาสวยัมภูวลึกค์ ปราสาทตาเมือน kzread.info/dash/bejne/lmmokqd8g7eTfs4.html เรือมเนียงบัวตูม ประซองซลัน kzread.info/dash/bejne/iZamq7exYK3TkZM.html ท่าเรือมกันตรึมโบราณมาตรฐาน kzread.info/dash/bejne/ZIl21896g5jXZaw.html เรือมบูเจียครู พิธีครอบครูตั้งแต่กำเนิด kzread.info/dash/bejne/q5WJptCre7Odd6g.html ท่าเรือมม็องกวลจ็องได พิธีมงคลผูกแขน kzread.info/dash/bejne/nq5qr6p-qNG0eNI.html ท่าเรือมผกา/ปกาตฺแบง kzread.info/dash/bejne/nWqc0aVxqLC9l7g.html ท่าเรือมเจรียงเบริญ อิทธพลหมอลำ เสียงแคนเข้ามาผสม kzread.info/dash/bejne/e3aHt9uOe7nFotI.html เครื่องเงินโบราณ kzread.info/dash/bejne/pZ6mk6umo8XdZ6g.html การทอผ้ามัดหมี่ ยกดอก 3ตะกอ 5ตะกอ kzread.info/dash/bejne/apmAq9Chda7dh5s.html kzread.info/dash/bejne/eqWixLGkl7DZgZM.html ผ้าไหมยกทอง kzread.info/dash/bejne/qqaszJSfqs-fZ5c.html เพราะฉะนั้นฟูนันจะอ้างว่าเป็นคนเจนละไม่ได้

  • @user-ot5zi6of7u

    @user-ot5zi6of7u

    10 ай бұрын

    ผมก้อคนสุรินทร์ขอมกับเขมรคืออันเดียวกัน

  • @lynthongsirima103

    @lynthongsirima103

    9 ай бұрын

    ปากแม่น้ำบางปะกงด้วยครับ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี พนัส จันท ตราด สระแก้ว โคราช บุรีรัมย์ สุรินทร์

  • @user-wc4gl2vy9k
    @user-wc4gl2vy9k Жыл бұрын

    ไปเรียนปราสาทเขมรกับดอกเตอร์สุเนตรฟูนันเก่าแก่​ แต่พ.ศ.ท้าวศรีโคตรบูรณ์400เท่านั้นเองแสดงว่าเก่าแก่กว่าพระจากที่ปีที่พระธาตุพนมครับอานาจักรศรีโคตรบูรณ์บรรพบุรุษเสียมน่าจะเป็นขอมคลิปนี้ดีมากๆครับ

  • @VivoY-nt5rv
    @VivoY-nt5rv Жыл бұрын

    คนเขมรโบราณเก่งมาก

  • @bonpunyapunya8148

    @bonpunyapunya8148

    Жыл бұрын

    ชนชาติขอมไม่ใช่เขมร แต่เขมรเป็นทาสชาวพื้นเมือง ในดินแดนเดิมที่รวมตัวเป็นกบฏเมื่อ อาณาจักรขอมเสื่อมอำนาจลง.

  • @libertyhaze8054

    @libertyhaze8054

    3 ай бұрын

    ไม่มีคนเขมรโบราณ มันคือคนขอม คนขอมคือคนที่นับพราหมณ์เป็นซะซ่วนใหญ่ เขมรโบราณคือคำของฝรั่งเศษที่ใช้เรียกมาในยุคนี้ แต่ตอนนี้มีบันทึกของราชวงศ์ของจีนบันทึกบอกไว้หมดว่าเหตุการณ์แต่ล่ะอย่างไว้หมด

  • @OppoOppo-gg1vw
    @OppoOppo-gg1vw10 ай бұрын

    รุ่นพ่อเล่าว่าเคยเรียนภาษาขอมในวัด จากคนพัทลุง

  • @user-hf2ol3lo6g
    @user-hf2ol3lo6g Жыл бұрын

    ฟูนัน ตั้งอยู่ สุรินทร์ มีแต่คนมองข้าม อาจจะ มี ร่องรอยเป็น สุวรรณภูมิ ด้วยซ้ำ เทวรูปสำเริด แบบศิลปะประโคนชัย ที่ทวงๆก้น นั้น นี้แหละศิลปะ ฟูนัน สุรินทร์ เทวรูปสำเริด ก่อนจะไปอยู่ เสมา และปลายบัด เคยอยู่ใน สุสานกษัตริย์ ที่เขาสวายจ.สุรินทร์ เรื่องนี้ไปถามนักวิชาการให้ตาย ก้อไม่เจอสักทีหรอก มาถามนี้ คนเฒ่า คนแก่ ใน จ.สุรินทร์ ก่อนจะล้มหาย ตายจากไปหมด ฟูนัน ตั้งตอนกลางจ.สุรินทร์ เจนละ ตั้งตอนใต้ สุรินทร์ ติดตีนเขาพนมดงรัก มีร่องรอย การถมดินเป็นทางยาว สูง เพื่อทำเขื่อนกะเก็บน้ำ เขื่อนน้ำ มีการควบคุมไหล จากทางใต้ ชึ้นไปทางเหนือ ไหลเข้าระบบชลประทาน ทางตอนกลางจังหวัดสุรินทร์ เพื่อทำเกษตรกรรม ระบบชลประทานและการเกษตร ทางตอนกลางของ จ.สุรินทร์ มีทั้ง รูปทรงสี่หลี่ยม วงกลม วงรี วงกลม วงรี มีคู่น้ำคันดินล่อมรอบ ตั้งแต่ 1 ถึง 5 ชั้น มีร่องรอยเต็มไปทั่วเกือบจะ ทั้งจังหวัด และมีการทำเครื่องประดับเงิน ที่มีเทคนิค แบบเดียวกับ ต่างหูทองคำ ที่ค้นพบ สมัย สุวรรณภูมิ เงิน เป็นส่วนหนึ่งของ เทคโลโลยีแบบโบราณ ในการแยกทองคำ ออกจากแร่ชนิดอื่นๆ

  • @J_B22
    @J_B22 Жыл бұрын

    ‘Zhenla’ (真臘 or 真蠟) is a temporal and areal refer- ence designating ‘Cambodia more or less within its modern borders during the 7th and 8th centuries’. Possible extensions of Zhenla have also been attested in the southern regions of Laos, mainly dealing business in the Mun and the Chi river basins of northeast Thailand through Sri Thep central business and Chantaburi as seaport in eastern Thailand. The main difference between the two place-names is that while Dva ̄ravatī is attested in Sanskrit inscriptions discovered locally, Zhenla is a Chinese term for which a convincing reconstruction in Sanskrit or the vernacular is still wanting. Zhenla was first described in the Suishu (隋書), the seventh-century History of the Sui [Dynasty] and later in the Jiu Tangshu (舊唐書) and the Xin Tangshu (新唐書), that is, the Older and Newer Tang History composed in the tenth to eleventh centuries. While the political character and geographical location or extent of the Dva ̄ravatī entity is much disputed, the latter Chinese toponym for Zhenla clearly refers to a political domain most likely centred upon the capital city Ī ́sa ̄napura, widely assumed to be today’s Sambor Prei Kuk in Kampong Thom prov- ince, central Cambodia. But where does Zhenla end, and Dva ̄ravatī begin? Many more inland, independent, or vassal, ‘Mon-Khmer’ polities also existed in this geographical area besides the above two place-names, especially in the middle Mekong valley and on the Khorat Plateau or its margins. Robert Brown con- siders this space an ‘interface region’.15 The most important regional polities may have been Si Thep, (Śrī) Ca ̄na ̄ ́sapura, and the much-debated Wendan or rather Wenchan (文單). The latter appears in classical Chinese sources, shortly after the alleged eighth-century disintegration of the former ‘united Zhenla’ into the so-called ‘Land’ (陸) and ‘Water’ (水) Zhenla. However, considers the eighth century a period of consolidation for Zhenla after the seventh century’s multitude of small semi-independent entities under local rulers or poñ. Previously, the ‘Dva ̄ravatī realm’ was largely described and associated with Mon settlements in which Buddhism was significantly and increasingly practised during the second half of the first millennium CE.18 Based on the extant literature, Dva ̄ravatī has long been assumed by scholars as almost exclusively a Mon-Buddhist domain although there has been a hesitant shift in recent years to argue for Brahmanism or Hinduism alongside Buddhism.

  • @user-jh1di7tc9v
    @user-jh1di7tc9v Жыл бұрын

    ขอบคุณ​มาก​ครับ​กับประวัติ​ศาสตร์​ ทำต่อไปนะครับ​

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากเลยค่ะ

  • @duangkaejanikorn6394
    @duangkaejanikorn6394Ай бұрын

    ❤(เมืองฟูนัน/เมืองนครชัย)❤ (เจนละบก/ตอนกลาง) อยู่ในเขตอีสานใต้ ปัจจุบันอยู่ที่(จ.สุรินทร์)

  • @tharinpanthumai8934
    @tharinpanthumai8934 Жыл бұрын

    อาณาเขตของอาณาจักรฟูนันน่าจะเป็นดินแดนลุ่มน้ำโขงตอนกลาง อันรวมถึงดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขงด้วย ปัจจุบันกระผมได้ไปพบป้อมปราการใหญ่และแนวกำแพงยาวกว่า 10 กม. ซึ่งก็ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำโขง และก็อยู่ห่างจากฝั่งทะเลจีนใต้ราว 200 ลี้

  • @Worrapongy.0408

    @Worrapongy.0408

    Жыл бұрын

    ผม รอ ติดตาม แหล่งข้อมูลเพื่อขยายความรู้ต่อไปครับ ไม่ว่ารูปแบบใด คลิป หรือ อ่าน

  • @booska5
    @booska5 Жыл бұрын

    👍👍👍

  • @rapeejithom2624
    @rapeejithom2624 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากเลย ได้ความรู้ดีมากเลย เป็นกำลังใจให้ทางช่องนะ

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากเลยนะคะ

  • @J_B22
    @J_B22 Жыл бұрын

    It has been suggested in the past that Funan (扶南) in ancient Cambodia was the catalyst for the development of Dva ̄ravatī in pre-modern Thailand. As a hypothesis this makes sense, as similar artefacts and sculptures are found in both geographic zones. Legends of Funan, as well as the Chinese annals, support the view that there was a link between the two areas, and that the power of the early coastal Funan rulers, with its legendary links to ‘Indianised’ cultures of the Thai-Malay Peninsula, was pre- sumably displaced by early Khmer inland rulers from about the middle of the sixth or early seventh century CE, that is, just before, or at the beginning of, the rise of what is called ‘Dva ̄ravatī’ and ‘Zhenla’. ‘Dva ̄ravatī’ is commonly used to refer to an archaeological and cultural typology, and an ancient art style (see Murphy, this vol.). In this article, it is predominantly taken to denote a historical polity vaguely located in western-central Thailand around the lower Chao Phraya river valley dated to circa the seventh-eighth centuries. The name has legitimacy in terms of references in the Indic literature, Chinese annals, and in inscriptions found in various sites. The boundaries of this dominion or maṇdạlanamed‘Dva ̄ravatī’are,however,notstatedinearlysources,as are the precise locations of many other place-names also found in the Chinese annals. Some earlier scholars have suggested that the area associated with Dva ̄ravatī culture may be divided into two or, perhaps, even three or four zones. Recent geophysical data and the arch- aeological distribution of early cities in central Thailand indeed suggests three zones sufficiently separated to allow them to function independently within the economic and political network of the Pre-Angkorian period, but whether this dichotomy also applies to the sphere of religious art and practices is highly unlikely.

  • @kwangko5577

    @kwangko5577

    Жыл бұрын

    มนุษย์ยุคโบราณมีทักษะการติดต่อสัมพันธ์ได้เป็นอย่างดี ถึงแม้กาลเวลาจะทำทุกสิ่งหลอมรวมกัน แต่สามารถแยกอัตลักษณ์ของกันและกันได้ว่า วัฒนธรรมทวารวดี เป็นอารยธรรมของชาวศาสนาพุทธ จากศรีลังกา วัฒนธรรมฟูนันเป็นอารยธรรมของชาวศาสนาฮินดู สืบเชื้อสายมาจากชวา-มาลายู จากอินโดนีเซีย

  • @klom15thailand

    @klom15thailand

    8 ай бұрын

    @@kwangko5577 เปิดกะโหลกบำรุงสมองอ่านภาษากฤษด้วย เจ๊กมันก้ยังบอกว่าอารยธรมคนเถื่อนที่พบบนสามเหลี่ยมโขง คือเขมรโบราณ ก้ยังบ้าใบ้เป็นขอมดำน้ำนั่งเทียนเพ้อเจ้ออีก

  • @user-ec9lz9je5w

    @user-ec9lz9je5w

    6 ай бұрын

    ถ้าเป็นฮินดูอย่างเดียวจะมีพระนาคเสน พระสังบาล และพระมันทเลเสนได้ยังไง

  • @ccicu3787
    @ccicu378710 ай бұрын

    "กเบื้องจาน" จารึกขอมสยามไทย จารึกก่อนพุทธกาล 6,600 ปีที่แล้ว บ่งบอกบรรพบุรุษไทยเรา ศิลาจารึกที่พิพิธภัณฑ์คูบัวราชบุรี ได้เล่าถึงความเป็นมาของคนไทย ศิลป วัฒนธรรม การดำรงชีวิต พิธีกรรมต่างๆ ..ที่ประเทศไทยนี้ มิได้อพยพมาจากถิ่นใด kzread.info/dash/bejne/lXeHy8WjkdPQgsY.htmlsi=KG0mSCAwDKID70p1&t=78 .

  • @user-tf4mm2hh3r
    @user-tf4mm2hh3r6 күн бұрын

    สิ่งที่ถูกทิ้งไว้ไห้ดูต่างหน้าเหล่านี้จริงๆเราคิดว่ามันเป็นลายแทงและปริศนาที่จะมีคนมนุตย์นุคไดยุคหนึ่งเท่านั้นที่จะมาตามหาความจริงเรื่องราวเหล่านี้ขึ้นมาจนได้นั่นแหละครับก็คือผู้ลงมาเกิดเพื่อเปิดเผยประวัติศาสตร์หลายพันปีเหล่านี้นะ่นแหละครับ

  • @blinkblinkth506
    @blinkblinkth506 Жыл бұрын

    แล้วขอมทำไมต้องดำดินครับผู้รู้ทั้งหลายบอกผมที

  • @Chapattaya
    @Chapattaya7 ай бұрын

    เมือง เถอโม่ อาจจะ มาจาก ธัมมะ นครธรรม (นครธมฺ) Thumba ธัมมะ ตบะ ตั๊กม้อ

  • @sornwiththeptee5190
    @sornwiththeptee519010 ай бұрын

    อยากสอบถามว่าขณะะที่ขอมเรืองอำนาจ มีศูนย์กลางการเมืองการปกครอง อยู่เขตแผ่นดินที่เป็นประเทศเขมรในปัจจุบันย์ แต่ประชาชนประชากรที่อยู่ในดินแดนประเทศไทยปัจจุบันก็มีอยู่ก่อนแล้ว โดยมีหลักฐานที่บ้านเชียงกว่า5600ปี ที่บ้านธารปราสาท ที่นครราชสีมา กว่า4000ปี หรือที่ปราสาทเมืองศรีเทพ อ.วิเชียรบุรี ก็เกินกว่านครวัตนครธมกว่า1000ปี นั่นหมายถึงมีผู้คนอยู่มาก่อนสร้างปราสาท กว่าพันปี แน่นอน...จึงสงสัยว่าผู้คนที่อาศัยอยู่บนผืนแผ่นดินไทยมาก่อนตามที่พบหลักฐานในประเทศไทย เป็นผู้คนสายเลือดที่เรียกว่าไทย/ลาว หรือสยาม นี้หรือไม่ ?ถ้าไม่ใช่ชนเผ่าดั้งเดิมที่มีชีวิตอยู่ในขณะนั้น มันอันตรธานไปใหน?ถ้าไม่ใช่เผ่าพันธ์ุที่คงอยู่ในถิ่นเดิมปัจจุบัน แต่อยากยืนยันว่า จากศิลปะบ้านเชียง ยืนยันว่าเป็นศิลปะไต/ลาว ดั้งเดิมแน่นอน...แม้การฟ้อนรำทำเพลงศิลปะ วัตถุ ทางพุทธศาสนาไทย/ลาว ก็มักไม่แตกต่งกัน (แต่ของกำพูชาที่เห็นเป็นอยู่สืบทอดมาในขณะนี้ ถึงจะเหมือน จะมีคล้ายกันอยู่บ้าง แต่มักดูแข็งกระด้าง เหมือนการเลียนแบบฝีกฝนไปใช้ขาดความปราณีตบรรจง .....รับไปทำไปแบบหยาบๆ.เพราะไม่เป็น ไม่ใช่ต้นแบบ ด้วยเป็นพวกคนป่าคนไม่พัฒนามาก่อนจะใช่หรือไม่???.

  • @user-sh8ve6xl7q
    @user-sh8ve6xl7q Жыл бұрын

    (ฟูนัน หรือพนม ภาษาเขมรเรียกว่าภูเขา) หยวนสื่อลู่ ราชวงศ์หยวน(มงโกล)เรียกเขมรสมัยนั้น

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากเลยค่ะ

  • @user-ec7dq7km8w
    @user-ec7dq7km8w28 күн бұрын

    เจนละบกน่าจะสร้างทับฟูนัน 🤔

  • @JA-gt7yh
    @JA-gt7yh Жыл бұрын

    #กลุ่มฟูนัน คุมปากแม่น้ำโขง #กลุ่มเจนละ คุมที่ราบสูงโคราช จรดทะเลสาปหลวง ฟูนันขึ้นมาตามแม่น้ำโขงรุกรานเจนละก่อน จนเจนละเป็นเมืองขึ้น จากนั้นเจนละโดย โดยพระเจ้าจิตรเสนก็ขับพวกอินเดียทิ้ง จนแผ่นดินจรดอ่าวไทมา แต่ก็มาแตกเป็น เจนละบก เจนละน้ำ ราชวงศ์อิศานวรมันมีการแต่งงานกับราชวงศ์จำปา(Chola Dynasty from India) จะมีกบฎ ท้าชิงเรื่อยๆก็จากทางฟูนัน กลุ่มฟูนันจะมาอ้างว่าตัวเองคือเจนละ ได้อย่างไร? แค่กลุ่มออสโตรเอเชียติกเหมือน พูดยังฟังกันไม่รู้เรื่องเลย กลุ่มเจนละ(ลุ่มน้ำมูล+ราชวงศ์ปัลลวะอินเดีย) ก็ค้าขายสนิทสนมกับกลุ่มมอญลุ่มเจ้าพระยา จนพระรามเมศวรแห่งอโยธยา(เขมรเจนละ กลายมาเป็นราชวงศ์อิศานปุระ และกลายมาเป็นราชวงศ์มหิธรปุระ) หมั้นกับพระนางจามเทวี ทรงพระครรภ์ได้ 3 เดือน แต่ก็ไม่สมหวัง ต้องแยกกัน คนเขมรเจนละโบราณ ธรรมเนียมเขาเวลาแต่งงานกัน ผู้ชายจะต้องไปอยู่บ้านฝ่ายหญิง เขมรจึงมีอิทธิพลแถบลุ่มเจ้าพระยา เพราะเขาดองญาติกัน เขาไม่เคยรบกัน มีแต่พระเจ้าสุริยวรมันที่1 ที่อ้างสิทธิฝ่ายแม่ ราชวงศ์ไศเลนท์ ทำสงครามวุ่น จนละโว้เข้าสู่กลียุค ส่วนอโยธยามีโรคระบาด จึงย้ายเมืองมาเป็น กรุงเทพทราวดีศรีอยุธยา ของพระรามเมศวร หรือที่ไทยตั้งมาว่าอู่ทอง จริงๆคือราชวงศ์ละโว้ อโยธยา อ้างอิง จารึกจัมปา จารึกโอเสม็ด เอกสารจีน งานวิจัยญี่ปุ่น รัสเซีย

  • @JA-gt7yh

    @JA-gt7yh

    Жыл бұрын

    เขียนใหม่ แป๊ป กลุ่มฟูนันจะอ้างตัวว่าเป็นกลุ่มเจนละได้อย่างไร? บาพนมคุมปากแม่น้ำโขง เจือนเลอคุมที่ราบสูงโคราชจรดทะเลสาปหลวง ฟูนันรุกรานเจนละ จนเจนละเป็นเมืองขึ้น จากนั้นเจนละโดยพระเจ้าจิตรเสนตีคืน ขับไล่พวกอินเดียออกไป ตามเอกสาร แผ่นดินจรดอ่าวไทย จากนั้นเจนละก็แตกออกเป็นเจนละ บก กับเจนละน้ำ มารวมกันอีกทีช่วงพระเจ้าสุริยะวรมัน มีกบฎท้าชิงเรื่อยๆท้าชิงเรื่อยๆก็จากทางกลุ่มบาพนม พวกที่มาค้าขายกับละโว้ก็จากอินเดียมาทางทวาย มีตระกูลตะปาง (พระนางจามเทวี) ตระกูลโว มหิธรปุระ สายราชวงศ์มหิธรปุระ 1)ลัทธิไศวะ กเมรไศวะ(Kashmir Shiavism) เทวราชา แถบพนมรุ้ง รับมาจากละโว้ สายครอบครัวพระอาทิตย์ สายสุริยะวงศ์ หรือสายพระเจ้าสุริยวรมันที่2 2)ลัทธิกฤษณะ ซยำไวณพ (Shyam)รัฐ-กฤษณะ พิมาย รับมาจากละโว้ สายครอบครัวชัย หรือพระเจ้าชัย หรือสายจันทราวงศ์ จันทราวดี แต่ทั้งสองสายก็นับถือพุทธไปพร้อมๆกัน อะไรดี บุ๋มก็ว่าดี ใครที่ทำลายพระพุทธศาสนาแบบพระเจ้าชัยที่8 นั่นไม่ใช่ละสุดโต่ง พวกฟูนันที่นับถือพราห์มอย่างเดียวแน่นนอน กลุ่มฟูนันจะมาอ้างว่าตัวเองคือเจนละ ได้อย่างไร? ถามอีกรอบ แค่กลุ่มออสโตรเอเชียติกเหมือน พูดยังฟังกันไม่รู้เรื่องเลย กลุ่มเจนละ(ลุ่มน้ำมูล+ราชวงศ์ปัลลวะอินเดีย) ก็ค้าขายสนิทสนมกับกลุ่มมอญลุ่มเจ้าพระยา จนพระรามเมศวรแห่งอโยธยา(เขมรเจนละ กลายมาเป็นราชวงศ์อิศานปุระ และกลายมาเป็นราชวงศ์มหิธรปุระ) หมั้นกับพระนางจามเทวี ทรงพระครรภ์ได้ 3 เดือน แต่ก็ไม่สมหวัง ต้องแยกกัน คนเขมรเจนละโบราณ ธรรมเนียมเขาเวลาแต่งงานกัน ผู้ชายจะต้องไปอยู่บ้านฝ่ายหญิง เขมรจึงมีอิทธิพลแถบลุ่มเจ้าพระยา เพราะเขาดองญาติกัน เขาไม่เคยรบกัน มีแต่พระเจ้าสุริยวรมันที่1 ที่อ้างสิทธิฝ่ายแม่ ราชวงศ์ไศเลนท์ ทำสงครามวุ่น จนละโว้เข้าสู่กลียุค ส่วนอโยธยามีโรคระบาด จึงย้ายเมืองมาเป็น กรุงเทพทราวดีศรีอยุธยา ของพระรามเมศวร หรือที่ไทยตั้งมาว่าอู่ทอง จริงๆคือราชวงศ์ละโว้ อโยธยา กลุ่มราชวงศ์สุพรรณภูมิที่พูดไท back up โดยจีน จึงกลายเป็นพูดไทย แต่ภาษาเขมร สันกฤต เกิน 50% ที่พูดในปัจจุบัน มีดีกันและทะเลาะกันตีกันทั้งฟูนัน เจนละ จามปา มอญกับเจนละไม่เคยรบกับ มีแต่ราชวงศ์ไศเลนของพระเจ้าสุริยะวรมันที่1 นั่นแหละ allied กับChola ถล่มศรีวิชัย พอสมัยราชวงศ์มหิธรปุระก็กลัวชวามาเอาคืนทั้งๆที่ตัวเองไม่ได้ก่อ ก็เหมือนสมัย ร.1 ร.2ของสยามดีกันรบกันกับล้านช้าง อ้างอิง จารึกจัมปา จารึกโอเสม็ด เอกสารจีน งานวิจัยญี่ปุ่น รัสเซีย

  • @JA-gt7yh

    @JA-gt7yh

    Жыл бұрын

    แล้วสยามกุก ก็คือมอญลุ่มเจ้าพระยา(ละโว้) เขมรเจนละ(อโยธยา) ที่ไปดองญาติกัน ส่วนไท กะไดมีกลุ่มสุพรรณ กลุ่มเพชรบุรี ยังไม่ได้ยิ่งใหญ่อะไร ก็มาดองญาติกับเขมรเจนละนี่แหละ แล้วก็เริ่มใช้ระบบปกครองแบบเขมรเจนละ มีการมอบตำแหน่งหัวเมือง ขึ้นต้นด้วย “กรมเตง” หลากหลายเมืองในลุ่มเจ้าพระยาทั้งมอญ และไทเริ่มมาค้าขาย คนไทจริงตัวโครงร่างสรีระยังเล็ก เตี้ยๆไปสู้ พวกออสโตรเอเชีย กับพวกอินเดียยาก ต้องผสมรวมกลุ่มกัน เมื่อก่อนล้านนาก็ยังเป็นของลัวะอยู่เลย ออสโตรเหมือนกัน ต่อมาจึงเกิดการเทครัว จากเชียงแสน จากฝั่งเมืองหลวงคนไทย แถบเชียงแสน โยนก สิบสองปันนา สมัยที่ก๊วนสุโขทัย นครพิงค์ 3 กลือ พวกฟูนันไม่ใช่เจนละ คนละกลุ่ม เจนละก็เจนละมาจากที่ราบสูงโคราชคุมไปถึงทะเลสาปหลวง ออสโตร +อินเดียราชวงศ์ปัลลวะ) พระเจ้าชัยที่2 รับไศวะนิกายจากชวา(ตามพรลิงค์แน่แน่) แล้วทำไมต้องไปถึงชวา ? ในเมื่ออาณาจักรฟูนันก็มีบาพนม ปกครองแบบไศวะนิกายอยู่แล้ว เพราะว่าไม่ถูกกันยังไงครับ เขาถึงมาประกาศ คิงออฟเดอะคิงบนเขากุเลนไรนั่น สำเนียงการพูดก็ไม่เหมือนกันแล้ว แถบกำปงธมก็พูดเหมือนแบบอีสานใต้ ตรงนี้คือสำเนียงเจนละ พวกฟนี้ชอบก่อการกบฎ นครธมอยู่บนทะเลสาปหลวง เยื้องๆ มาทางทิศตะวันตก มาทางที่ราบสูงโคราช ส่วนฟูนันคุมปากแม่น้ำโขงอุดมสมบูรณ์ขนาดนั้น คนโง่ที่ไหนจะละทิ้งแถบนั้น มีแต่มาเป็นทาสและคิดก่อกบฎในราชสำนักอาณาจักรเจนและอังกอร์ สมัยอยุธยามันถึงถอยร่นไปตั้งเมืองหลวงขยับลงไปเรื่อยๆ ที่ที่พวกมันเคยมา อังกอร์บาเร็ย กับถ้ำสแปนแลง อายุ 10,000ปี

  • @user-cl2du9bi6g

    @user-cl2du9bi6g

    9 ай бұрын

    มั่วมาก เจนละ ไม่ใช่เขมร ถ้าจำไม่ผิดคนที่ รวบรวมเจนละบกและเจนละน้ำคือ คือพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ซึ่งเป็นกษัตริย์ขอม มาจากอินเดียใต้ไม่ใช่เขมร คำว่ากม่ร์.เกมร เพิ่งค้นพบในจารึก ka 64 (ข้ารับใช้ชาวเขมร) ก่อนเมืองพระนครราวๆ.200 (ไม่แน่ใจ) มายุคนครวัด ก็เปลี่ยนชื่อเป็นเขมร และเป็นแค่แรงงานทาส มายุตเจนละ เขมรคือ คนป่าที่ถูกกวาดต้อนเอามาเป็น ทาส จากบันทึกของโจวต้ากวน แสดงว่า เขมรเป็นชนชั้นแรงงานทาสมาตลอด ประวัติศาสตร์คุณมั่วมาก 😂😂

  • @user-hg3bx2it6f

    @user-hg3bx2it6f

    7 ай бұрын

    จารึกโอเสม็ดในโคราชประเทศไทยกล่าวไว้ว่าชาวเกมรมีสถานะเป็นทาสและเป็นเผ่าอื่นที่ไม่ใช่ประชาชนอาณาจักรจุล(โจฬะหรือเจิ้นลา)ซึ่งมีเมืองใหญ่คือเมืองละโว้กับเมืองพิมายนั่นแสดงให้รู้ว่าตอนนั้นเมืองพระนครกัมพูชายังไม่ได้เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรจุล(โจฬะหรือเจิ้นลา) มีศิลาจารึกหลายพื้นที่กล่าวถึงชาวเขมรมีสถานะเป็นทาส เช่นในสมัยรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่7ได้กวาดต้อนชาวเขมรกับชาวจามในแคว้นจามปาไปเป็นทาสใช้แรงงานในเมืองพระนครกัมพูชาซึ่งในเวลาต่อมาในสมัยรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่9เกิดขบถทาสกลุ่มทาสชาวเขมรกับทาสชาวจามได้ทำการขบถฆ่าพระเจ้าชัยวรมันที่9มีหัวหน้าทาสชื่อตระซ๊อคปะแอม(แตงหวาน)เป็นคนฆ่าและยึดเมืองพระนครกัมพูชาพร้อมกวาดล้างฆ่านายทาสชาวสยาม(ไทย)ในเมืองพระนครกัมพูชาอย่างโหดร้ายทำให้ชาวสยาม(ไทย)ในเมืองพระนครกัมพูชาอพยพไปอยู่แคว้นละโว้ซึ่งเป็นแคว้นของชาวสยาม(ไทย)ในภาคกลางของประเทศไทยด้วยกัน ชาวเขมรกับชาวจามแห่งแคว้นจามปาเป็นเผ่าเดียวกันและชาวเขมรเป็นทาสกษัตริย์ราชวงศ์วรมันที่เป็นชาวสยาม(ไทย)

  • @user-cl2du9bi6g

    @user-cl2du9bi6g

    7 ай бұрын

    @@JA-gt7yh มั่วมาก เขมรยุคนั้นเป็นชนชั้นทาส ไม่ทีส่วนเกี่ยวข้องกับราชวงค์อิสานปุระ และมหิธรปุระ ประวัติศาสตร์ของเขมรแต่งขึ้นเองโดยไม่มีหลักฐานอ้างอิงเลย

  • @VryaChhKhKH
    @VryaChhKhKH7 ай бұрын

    อยากเป็นขอม❤

  • @user-me2hh2xc1f
    @user-me2hh2xc1f10 ай бұрын

    ดี

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    10 ай бұрын

    ขอบคุณมากค่ะ

  • @user-jg1zf6dy6y
    @user-jg1zf6dy6y6 ай бұрын

    SRIWIJAYA BUDDHA EMPIRE 💪🔥💪🔥

  • @user-fd5rg4ce9n
    @user-fd5rg4ce9n9 ай бұрын

    ตัว พัง อยู่ นี้เอง ประวัติศาสตร์ 👈 ซ้ำลอย

  • @user-fj9lq9on3c
    @user-fj9lq9on3c5 ай бұрын

    โดยส่วนตัว : นี่เชื่อว่า อาณาจักรฟูนัน อยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยค่ะ โดยเมื่อ 1,900 - 2,500 ปีก่อน ที่ๆกล่าวมานี้ที่นี่เคยเป็นทะเลมาก่อนค่ะ

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    5 ай бұрын

    ขอบคุณค่ะ

  • @user-lr3kj8qv4y
    @user-lr3kj8qv4y5 ай бұрын

    😮 อาณาจักรฟูนัน, หรือ​ พนม​ ก็น่าคิด

  • @user-ki7gx6dx1j
    @user-ki7gx6dx1j Жыл бұрын

    มีแผนที่อาณาเขตให้ดูคงจะดีที่สุด ถ้ามีก็ลงให้ดูมั่งเน้อ?

  • @user-uc2kq1wf8k
    @user-uc2kq1wf8k Жыл бұрын

    ขอทราบชื่อเครื่องดนตรีประกอบช่วงต้นคลิปหน่อยได้ไหมคะ

  • @J_B22
    @J_B22 Жыл бұрын

    Dva ̄ravatī central Thailand , the concept of ‘state’ does not really work for Dva ̄ravatī or even other early Southeast Asian political systems; secondly, there is often no evidence that the rulers of these polities were directly responsible for such artistic production, even on a massive scale, let alone that they were Buddhists. In contrast, Brahmanism or Hinduism has long been perceived to operate primarily in the eastern margins of this territory, closer to Khmer settlements in Zhenla where followers of Śiva and Visṇ ̣u, as well as Harihara, a combination of both gods, presumably lived.25 A strong proponent of this religious divide in the Chao Phraya river valley is Srisakra Vallibhotama. In his view, the western part (i.e. Dva ̄ravatī) was exclusively Buddhist and the eastern part, centred upon Mueang Si Mahosot, Hindu. This in- terpretation, however, goes against the region’s archaeological evidence for, as the following will make clear, we find both Buddhist artefacts and inscriptions in the east- ern region, and Hindu sculptures in the western zone. Besides the evidence elaborated further below from U Thong, Si Thep, and Nakhon Pathom, I am here thinking of two largely unnoticed early devotional images of Śiva and Visṇ ̣u from Ratchaburi and Kanchanaburi provinces.27 Buddhists are indeed attested in the regions of Mueang Si Mahosot and Zhenla; we have textual, epigraphic, and material evidence of their presence and activities in the seventh and eighth centuries. Further north, there is also a growing body of Buddhist material found in the middle Mekong valley, adding to the already rich data excavated from the lower Mekong Delta. Although Buddhism may not have al- ways enjoyed pride of place in these lands, it never really disappears from the sacred landscape. This early Buddhist sculpture, moreover, often features a common re- gional idiom and iconography, frequently labelled ‘Dva ̄ravatī’ or ‘Pre-Angkorian’, that seems to transcend the notion of a specific and subregional art style before it becomes more strongly localised in the eighth to ninth centuries onwards. This is particularly evidenced by the facial and hair treatments of several Buddha heads found in Cambodia, Laos, and Thailand with often lack of precise provenance (fig. 1) Finally, it is worth noting that the name ‘Dva ̄ravatī’ is also attested in Cambodia in two donative inscriptions (K.89, K.165) from the late tenth, early eleventh centuries which are found in a non-Buddhist environment. Indeed, K.89 (l. 22,) records in Old Khmer the ‘gifts’ of persons made to a certain V.K.A. Parame ́svara (i.e. Śiva), and K.165 (l. 7-8,) the installation of a V.K.A. Śrī Ca ̄mpe ́svara (i.e. Visṇ ̣u) in ‘the land (sruk) of Dva ̄ravatī although it is doubtful that the place-name refers here to the same early polity known in Thailand that is the focus of the present article.

  • @user-td8eh5qx8q
    @user-td8eh5qx8q5 ай бұрын

    อย่างคนหลายคนว่าเลิกฟังนักวิชาการฝรั่งเศลเถิด

  • @user-xm8uu6sw4z
    @user-xm8uu6sw4z9 ай бұрын

    เค้าลูก๒๕หลัง๒๔๘๘..ปิตาอ่อนกว่า ธนู*กุมภ์"ปีขาลมาตา # ธนู สังข์สินชัยฯสุธนมโนราห์ฯลฯ

  • @user-tg6lx7ey1g
    @user-tg6lx7ey1g Жыл бұрын

    น่าสนใจครับ ทั้งเนื้อหาสาระ ภาพประกอบและเสียงผู้บรรยาย (บางคลิปก็ไม่ได้คอมเมนต์อะไร แต่ยังคงให้กำลังใจและติดตามช่องนี้ตลอดอยู่นะครับ)

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    Жыл бұрын

    ขอบคุณมากเลยนะคะ

  • @supornpitpinkaew8410
    @supornpitpinkaew84106 ай бұрын

    สรุปว่า อาณาจักรฟูนัน..จามปา..เจนละ ล้วนมีที่มาจากอินเดียทั้งสิ้น

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    6 ай бұрын

    ขอบคุณค่ะ

  • @maliksaibua5106
    @maliksaibua5106 Жыл бұрын

    อาณาจักร ฟูนัน เกี่ยวข้องอะไรกะชีวิตผม ผมยังไม่เข้าใจ แต่ตอนเรียน ม. 3 เอาอาณาจักรนี่มาป่าวประกาศ ให้นักเรียนรู้ แทนที่ จะเอาพระราชกรณียกิจ พระเจ้าตาก มาให้นักเรียนไทยได้ศึกษา

  • @user-ru3wb6zb3c
    @user-ru3wb6zb3c Жыл бұрын

    ถา้เขมรเคยยิ่งใหญ่​ทำไมคนผูดภาษา​เขมรมีนอ้ยทำไมคนผูดภาษา​ไทยถึงมีมากกว่ารวมถึงภาษา​ไตกะไดผมว่าคนแต่กอ่นน่าจะผูดไทย​นี่แหละตัวเขียนเป็นอรษร

  • @user-zm6eb3fl1

    @user-zm6eb3fl1

    2 ай бұрын

    ตั้งแต่สุรนท์ บุรีรัมภ์ฯ ลงมาถึงเวียดนามใต้ครับ

  • @user-xm8uu6sw4z
    @user-xm8uu6sw4z9 ай бұрын

    เถอมูล+เขาถมอรศรีเทพฯดงมูลภูพานภูเพ็กฯ.........พระกฤษณะ ราม apple HriHra Wood worldfood-Sport Coach ฯ พินจิ. Chinese!

  • @user-tj3ol1kl7e
    @user-tj3ol1kl7e4 ай бұрын

    การแต่งงาน ของ พราหมณ์ กับเจ้าหญิง ใช่ตรงกับตำนาน นายทอง นางนาก มั้ย

  • @pagodacloud2241
    @pagodacloud2241 Жыл бұрын

    เรื่องราวของฟูนันมีน้อยมาก😅

  • @mornchillchill4125
    @mornchillchill4125 Жыл бұрын

    ยุคนี้เชื่อคำบอกเล่าไม่ได้ ต้องจากการบันทึกของคนโบราณที่ไม่มีส่วนได้เสียใดๆ

  • @wiwioto6898

    @wiwioto6898

    Жыл бұрын

    ...แวะชมพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติที่อุบลราชธานีสักครั้งสิครับ ...มีการเชื่อมสัมพันธุ์กันอย่างไรกับ อาณาจักรตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช) แล้วก็ลงใต้ เที่ยวชมพิพิธภัณฑ์สถานนครศรีธรรมราช ถามหา ศิวลึงค์ทองคำหาชมได้ที่ใด ...จะได้ตาสว่าง

  • @lynthongsirima103
    @lynthongsirima1036 ай бұрын

    ปรัมละเวง คือการเรียกขนาดของบ้าน 5 ช่อง ปรัมละเวง

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    6 ай бұрын

    ขอบคุณค่ะ

  • @user-fd5rg4ce9n
    @user-fd5rg4ce9n9 ай бұрын

    มอง แบบ ผิวเผิน ไม่ รู้ มัน ไม่ เปิด เผย ตัวตน ออกมา

  • @user-sh8ve6xl7q
    @user-sh8ve6xl7q Жыл бұрын

    เป็นการเข้าใจผิด เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ มียศนำหน้า มียศนำหน้าเป็นภาษาเขมร ที่กษัติย์เขมรแต่งตั้งให้คือ กมรเตงอัญศรีอินทราทิตย์ คือยศของผู้ว่าราชการจังหวัดหนึ่งของเขมร ไทยยังไม่มีประเทศเลยครัย พ่อขุนรามคำแหง ก็มียศภาษาเขมร นำหน้า กมรเตงอัญศรีรามราช กษัติย์เขมรแต่งตั้งปกครองสุโขทัย ยังเป็นประเทศเขมรอยู่ มาแยกออกจากเขมร พศ.1825 สมัยรามคำแหงนี้แหละ เขมรรบแพ้กุบไลข่าน ฮ่องเต้จีน กุบไลข่านแยกประเทศออกจากเขมร แล้วสยามไทยตกเป็นรัฐอารักขาเมืองขึ้นจีนถึง ร.4 ดูหลักฐาน kzread.info/dash/bejne/rHlousqycszVipM.html

  • @Zxxcv_124

    @Zxxcv_124

    Жыл бұрын

    สุดยอดแต่งเรื่องมโนเปนตุเปนตะไม่มีอะไรอ้างอิงข้อสันฐาน

  • @feelingintheblue

    @feelingintheblue

    Жыл бұрын

    มั่วมาก ใครเชื่อก็บ้า เค้าเชื้อสายเครือญาติกัน

  • @papinwitnuamnaka3217

    @papinwitnuamnaka3217

    Жыл бұрын

    ชื่อเขมรเป็นของพ่อขุนผาเมืองเพราะพระเจ้าชัยวรมันที่7ยกลูกสาวให้...แต่เมื่อร่วมกันขับไล่เขมรออกแล้ว จึงยกชื่อให้พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ และให้ปกครองเมืองสุโขทัยแทน หลักฐานจากหลักศิลาจารึกที่2วัดศรีชุม

  • @user-sh8ve6xl7q

    @user-sh8ve6xl7q

    Жыл бұрын

    @@papinwitnuamnaka3217 ผิด ทำลายความจริง

  • @user-sh8ve6xl7q

    @user-sh8ve6xl7q

    Жыл бұрын

    @@papinwitnuamnaka3217 รามคำแหงก็ได้รับการแต่งตั้งจากกษัติย์เขมร พระเจ้าชัยวรมันที่ 8 ชื่อว่า กมรเตงอัญศรีรามราช สยามมาแยกออกจากเขมร พศ.1825 เขมรรบแพ้กุบไลข่าน นี้แหละ

  • @mrsyyonephimsyya5213
    @mrsyyonephimsyya5213 Жыл бұрын

    อนาจักจามปา พุนัน เจนลา...ไผกำเนีดก่อน..?

  • @lynthongsirima103

    @lynthongsirima103

    9 ай бұрын

    ฟูนัน

  • @champaputih4568
    @champaputih4568 Жыл бұрын

    ชาวอคติ พยายามยกฟูนัน ให้เป็นบรรพบุรุษไทย และชาวกูย ทำทุกอย่างให้เขมรด้อยค่า หรือยกให้เป็นทาส ทั้งๆที่ฟูนันเป็นบรรพชนเขมรดังเดิม ใช้ภาษาเขมร ชาวอคติ พยายามให้ฟูนั้นมาอยู่ที่ไทย ไม่ใช่เขมร ทั้งๆที่โบราณสถานคดี และจารึกสมัยฟูนันพบที่เขมรภาคใต้อย่างมากมาย

  • @user-si1xb9zy4c

    @user-si1xb9zy4c

    Жыл бұрын

    ส่วนตัวเกลียดที่คนเขมรชอบเคลมไม่คิดพัฒนาเพ้อหาแต่อดีต แต่ไม่คิดว่าขอมคือไทยเพราะสยามเองไม่ได้หมายถึงชนชาติเดียวลูกหลานคนมอญ คนจีน ลาว ญวน ก็คือคนไทย

  • @kyykk4317

    @kyykk4317

    Жыл бұрын

    ขอนอกเรื่องหน่อยนะ ชนเผ่าที่อยู่ จ.รัตนคีรี และ มณฑลคีรีคือพวกไหน มีคนว่าพวกเดียวกับจามปา แต่พวกเขาเป็นคริสเตียนหรือไม่ก็นับถือผีและยังมีในประเทศเวียตนาม ชอบเล่นระบำฆ้องเหมือนพวกฟิลิปปินส์

  • @champaputih4568

    @champaputih4568

    Жыл бұрын

    @@kyykk4317 เขมร-มอญ ทั้งหมด มีแต่เพียง สามเผ่าเท่านั้นที่เป็นชาวตระกูลออสโตรเนเซียน 1. ระแด้ 2. ระคแล้ 3. จาไร ทั้งสามนี้ เขาตั้งชื่อว่า Chamic People พวกเขาได้อพยพมาจากตอนกลางเวียดนามหลังเวียดนามเข้ามายึดอาณาจักรจามปา และการอพยพสุดท้ายคือสมัย สงคราม เวียดนาม เพราะพวกนี้ คือ รับใช้อเมริกา นอกจากสามเผ่านี้ คือ ตระกูลเขมร-มอญ ทั้งหมด มีอยู่สามประเทศ ลาว เวียดนาม กัมพูชา ชาวเผ่าทั้งนี้ ฝรั่งให้ชื่อว่า มุงเตหญาต แปลว่า ชาวภูเขา นักมานุษยวิทยา ระบุว่า กลุ่มเขมร-มอญ ทั้งนี้ คือ ครอบครัวเดียวกับชาวเขมรกัมพูชาบัจจุบันในยุคก่อนประวัติศาสตร์ มีอยู่สามสาขา ตระกูลเขมริก บาฮนาริก และเพียริก มีความใกล้ชิดด้านภาษา ประเพณีดังเดิม และการดำรงชีวิต มากที่สุด กลุ่มหนึ่งที่นักมนุษยวิทยาเชื่อว่า คือกลุ่มที่มาก่อนตั้งอาณาจักรบนแผ่นดินกัมพูชาบัจจุบันครั้งแรก คือชาวบรู และต่อมาก็ร่วบรวมเผ่าต่างๆในประเทศ และตั้งชื่อใหม่ว่า เกมร กลุ่มถัดมาที่ใกล้ที่สุด หรืออาจจะเป็นกลุ่มที่ได้ก่อตั้งรัฐฟูนันนั้น คือกลุ่มชาวปูนอง ที่ความหมายแปลว่า พนม ชื่อนี้ก็เพราะชาวปูรองดังเดิมอาศัยอยู่บนดินสูง หลังได้ลงมายังภาคกลางกัมพูชา ที่เป็นพื้นราบ และก็ได้สถาปนาสังคมรัฐอยู่ที่นี้

  • @user-yp2gk3xh6h

    @user-yp2gk3xh6h

    Жыл бұрын

    เชื่อตามตำราจากชาวฝรั่งเศสทั้งหมดเลยเหรอ อักษรขอมโบราณมีพัฒนาการมาจากอินเดียใต้ และวิวัฒนาการมาเป็นต้นแบบของทั้งอักษรไทยและอักษรเขมร ถ้าบอกว่าเขมรใช้ภาษาขอม ชาวเขมรคือชาวขอมโบราณ งั้นไม่บอกไปเลยว่าชาวเขมรคือชาวอินเดียใต้โบราณด้วยเลยล่ะ

  • @champaputih4568

    @champaputih4568

    Жыл бұрын

    @@user-yp2gk3xh6h ฝรั่งไหนบอกที🤣 นี้แหละภาษาไทย แม้แต่ฝรั่งก็ต้องแยกออก🤣 นักประวัติศาสตร์โลกที่มีชื่อเสียงระดับต้นๆของโลกที่เคยมาเขมร มีทั้งอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฝรั่ง แล้วช่วยบอกที ฝรั่งที่คุณพูดนี้คือใคร?🤣 อินเดียไม่ได้เกี่ยวอะไรกับเขมร เขมรแค่รับศาสนามานับถือ แต่ชีวิตจริงคือคนพลเมือง

  • @user-fd5rg4ce9n
    @user-fd5rg4ce9n9 ай бұрын

    น้องๆๆ รีบ จด จำ เลย ข้อสอบ ит чяю

  • @user-qd6qw1ts4b
    @user-qd6qw1ts4b5 ай бұрын

    เสียมกุก....แปลว่า.....ประเทศสยาม (Siam)+国(Guó).......เสียมกุก จีนหมายถึงประเทศสยาม เรียกสยามประเทศ พระเจ้าสุริยะวรมันที่สอง...(ภาพประธาน) นั่นคือกษัตริย์สยาม (ชื่อแบบสยาม) ศรีวิชัย.......เป็นกองทัพทางทะเลของสยาม ละโว้..........เป็นกองทัพบกของสยาม ถ้าไม่รู้ความจริง...มันจึงอธิบายแบบนี้แหละ (บิดเบือนหรืออวดรู้กันไป) เขมรไม่เคยมีกษัตริย์...เขมรไม่เคยมีประเทศอยู่ในแผนที่โลกทั้งในอดีตและปัจจุบัน เขมรเป็นวรรณะทาส พวกทาส ... ไม่ใช่วรรณะปกครองใดๆ เป็นผู้ใหญ่บ้านยังไม่ได้เลย อารยะธรรมยุคปราสาทล้วนเป็นอารยะธรรมของสยามประเทศ... คนไทยต้องระมัดระวัง...ทั้งไทยเทศ...บนความไม่รู้ขาดความรู้ พร่องข้อเท็จจริง.. มันก็จะคอยด้อยค่า....ชนชาติสยาม...เพื่อไม่ใช้เราค้นพบบรรพบุรุษของไทยได้..นั่นเอง

  • @St.Praksa

    @St.Praksa

    5 ай бұрын

    ขอบคุณค่ะ

  • @user-xm3hl7zx8n
    @user-xm3hl7zx8n Жыл бұрын

    🇰🇭🇰🇭🇰🇭🇰🇭🇰🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭🇹🇭 ថៃ រឺ សៀម គឺជាជនភាគតិច រស់នៅតំបន់ភ្នំ ក្នុងខេត្តយូណានប្រទេសចិន ចាប់ផ្ដើមធ្វើអន្តោប្ររវេសន៍ មកជ្រកកោណ ពួនអាត្មា ក្នុងរាជាណាចក្រខ្មែរ រឺ អាណចក្រខ្មែរ នាអំឡុងសវទី13 នៃគស ចំណែកឯអាណាក្រខ្មែរវិញ ចាប់ផ្ដើម ក៍កើតរដ្ថ និង បង្កើតប្រទេស ចាប់តាំងពីសវទី1 មុនគស គឺអាណាចក្រ ភ្នំ ហ្វូណន រឺ ចេនឡា ចេនឡា ចែកចេញជាពីរ គឺចេនឡា ដីគោគ និង ចេនឡាដីទឹក ចេនឡាដីគោគ លាតសន្ធឹងដល់ស្រុកមន ដែលជាព្រំប្រទល់ រវាងភូមារ និង ថៃបច្ចុប្បន្ន ឯចេនឡា ដីទឹក រឺ ចេនឡាទឹកលិច ស្ថិតក្នុងទឹកដីកម្ពុជាក្រោម លាតសន្ធឹង ដល់សមុទ្រ ចិន ខាងត្បូង ខ្មែរអតីតកាល ជាមហាអំណាច មានទឹកដី ធំទូលាយ គ្របដណ្ដប់ តំបន់អាសុីអាគ្នេហ៍នេះ ទាំងមូល។

  • @supapornryan4410
    @supapornryan44104 ай бұрын

    อย่างเดียวที่ไม่ชอบคือช่องนี้ชอบพูดว่า เขมรโบราณ มีที่ไหน? ประเทศเขมรในโบราณ ???

  • @user-gv4yt5tk2k
    @user-gv4yt5tk2kАй бұрын

    อาณานี้เก่าแก่มากน่ะครับจากที่ฟังแอด

  • @user-hv3ok5rg2w
    @user-hv3ok5rg2w14 күн бұрын

    "ฟูนัน" ไม่ใช่อาณาจักร แต่ "ฟูนัน" คือ แคว้นหนึ่ง หรือ เมืองหนึ่งของอาณาจักรสยาม...จากบันทึกของโจค่ากวน และบัยทึในแผ่น ก เบื้องจาน แต่ประวัติศาสตร์ที่เขียนโดยนักประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส มันจะไม่ยอมเขียนถึงสยามเลยแม้แต่น้อย

  • @KunKhmer-iz5sy
    @KunKhmer-iz5sy Жыл бұрын

    Hmm

  • @user-wq4rt7sx7t
    @user-wq4rt7sx7t10 ай бұрын

    อาณาจักรฟูนัน ตั้งอยู่ทึ่อลาสก้า

  • @user-tf4mm2hh3r
    @user-tf4mm2hh3r6 күн бұрын

    ลายที่ปรากฏตามจุดต่างๆนั้นมันตรงกับศิลปะที่ทับซ้อนแบบหลายมิติกับที่เรามีอยู่นะตอนนี้แบบไม่ต้องสงสัยอีกเลยนะครับเราเน้นเอาลายเป็นหลักนั่นแหละครับเพราะลายจะพาเราไปถึงเป้าหมายสำคัญของมันว่าคืออะไรนั่นแหละครับ

  • @user-tf4mm2hh3r
    @user-tf4mm2hh3r6 күн бұрын

    ถ้าหากเราหรือไครๆก็ตามสามารถถ่ายภาพศิลปะตำนานเทพเหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ทุกๆอย่างที่มันตั้งอยู่ประเภคเดียวกันนี้ก็จะหมดราคาหรือข้อสงสัยไปโดยอัตโนมัตนั่นแหละครับ

  • @evetj2581
    @evetj2581 Жыл бұрын

    ศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักรฟูนันคือเมืองพระนครธมเป็นปฐมราชอาณาจักรแห่งเขมรขอมโบราณและหลายยุคหลายชื่อในราชอาณาจักรเดิมเช่นยุคเจลละยุคปาปวนยุคบายนเมืองพระนครยุคบายนแคว้นอิศานปุระมหิธรปุระศูนย์กลางการปกครองนอกเขตเมืองพระนครธม

  • @weerahemrugrote7802
    @weerahemrugrote78027 ай бұрын

    แย่งชิงกันเป็นเจ้าของอดีตกันไปใยปัจจุบันใครเป็นใครก็วัดกันด้วยคุณภาพคนในชาติละกัน

  • @user-tf4mm2hh3r
    @user-tf4mm2hh3r6 күн бұрын

    อานาจักรนี้ก็คล้ายกับทารวดีเหมือนกันนะครับลักษณะเหมือนกันที่แน่ๆมันตรงกับของเรากลายจุดเหมือนกันเพราะตำนายเทพเจ้าหรือเทพกษัตริย์นั้นย่อมมีความลับซ่อนอยู่ทุกๆตำนานนั่นแหละครับอยู่ที่ว่ามันซ่อนเอาไว้แบบลักษณะไดนั้นมากกว่าเราโขคดีที่ยังหาเจอบางส่วนเท่านี้ก็เป็นบุญวาสนาของเราและของทุกๆคนด้วยต่อเมื่อเรานำมันออกไปเปิดเผยแก่ประชาชนทั่วโลกนั่นแหละครับ

  • @evetj2581
    @evetj2581 Жыл бұрын

    ที่แน่ชัดไม่ว่าอาณาจักรฟูนันหรือเรียกว่าบรรพบุรุษแห่งอาณาจักรขอมหรืออาณาจักรเขมรศิลปะวัฒณะเขมรอักษรต่างๆบาลีสันสกฤษตมคธปัลวะภาษาบาลีสันสกฤษตมคธปัลวะสถาปัตย์กรรมศิลปะแต่ละยุคๆเช่นศิลปะแบบปาปวนศิลปะแบบปัลวะศิลปะแบบบายนรวมเรียกว่าฟูนันหรือเขมรหรือขอมหรือกัมพูชาซึ่งทั้งหมดขอมเขมรก็ถ่ายทอดมาจากทมิฬอินเดียใต้เมื่อ1พัน500ปีมาก่อน

  • @markchumnumsiriporn5884

    @markchumnumsiriporn5884

    Жыл бұрын

    ขอมเขมร ย้อนไปแค่600ปีกว่าๆเอง จะเหมาว่าศิลปะขอมเป็นเขมรทั้งหมดจึงไม่ถูกต้อง หลังยุคตระชอคประเอม ได้สร้างอะไรที่ยิ่งใหญ่บ้าง ปัจจุบันก็ยังเอาของไทยไปเป็นของตัวเอง เชื่อจังน๊ะที่ฝรั่งเศลเขียน รู้ๆอยู่ว่าเขาล่าอาณานิคม นักวิชาเกินไทยนี่แหละสำคัญนัก

  • @wiwioto6898

    @wiwioto6898

    Жыл бұрын

    อักษรเขมร คืออักษรพราห์มี พบจารึกไว้ในจารึกโวคาญ พร้อมภาษาสันสกฤต และอักษรแบบสยาม คือมี ค ง สระอะ กันแล้ว แต่เรียงไม่เหมือนแบบปัจจุบัน ...เขมรกัมพูชา ไม่ใช่ผู้สร้างตัวอักษรเขมร ...เดิยทางเยี่ยมชม จารึกวัดภูเกล้าที่ลาว หรือ วัดหลวงเก่าริมน้ำโขง จะได้รู้จัก ลิงคะบรรพต แท่นบูชายัญเทพศักดิ์สิทธิ์ในสามโลก ด้วยมนุษย์ ...ตรงตามบันทึกของจีนราชวงศ์สุย ว่าพระเจ้าแผ่นดินต้องสังเวยมนุษย์ บนยอดภูเขาสูง ในเวลากลางคืน ...

Келесі