No video

วิชาสังคมศึกษา | ระบอบการปกครองและรูปแบบของรัฐ

#ระบอบการปกครอง #รูปแบบของรัฐ #วิชาสังคมศึกษา
ระบอบการปกครอง (Regime of Government) หมายถึง แนวความคิดรวบยอด หรือ ลัทธิทางการเมืองที่นำมาใช้เป็นหลักในการปกครองรัฐ การวางระบบการเมือง การกำหนดสิทธิเสรีภาพราษฎร ฯลฯ ระบอบการปกครองของประเทศต่างๆ ในโลกนี้ อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ระบอบใหญ่ๆ คือ
1.ระบอบประชาธิปไตย
โดยคำว่า Democracy มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Demos แปลว่า พลเมือง / ประชาชน และ Kratos แปลว่า การปกครอง / รัฐบาล / อำนาจปกครอง จากรากศัพท์ดังกล่าวนี้จะเห็นได้ว่า ประชาธิปไตย มีความหมายอยู่ในตัวแล้วว่า ประชาชนเป็นใหญ่ กล่าวคือ เป็นการปกครองที่อำนาจสูงสุดของรัฐบาลเป็นของประชาชน หรือเป็นการปกครองโดยประชาชน หรือหมายถึงการปกครองที่อำนาจสูงสุดอยู่ที่ประชาชน
2.ระบอบเผด็จการ
ระบอบการปกครองแบบเผด็จการ (Dictatorship)หรือ อำนาจนิยม เป็นระบอบที่ดำรงอยู่ในขั้วตรงกันข้ามกับระบอบประชาธิปไตย กล่าวคือ ระบอบที่มีการรวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ให้อำนาจอยู่ในมือคนเพียงคนเดียว หรือ กลุ่มคนเพียงไม่กี่คน รัฐบาลไม่ต้องรับผิดชอบต่อผู้ใด ระบอบเผด็จการ มักจะมีหลักการพื้นฐานสำคัญๆ อย่างเช่นว่า
1) การปกครองระบอบนี้ จะเป็นระบอบแห่งการผูกขาดอำนาจทางการเมือง
2) ในระบอบการปกครองเหล่านี้ เสรีภาพต่างๆ ทางการเมืองมีน้อยหรือไม่มีเลย
3) ฝ่ายค้านถูกยุบเลิกหรือถูกจำกัดจนไม่มีความหมายอะไรเลย
4) ประการอื่นๆ อย่างเช่น การที่ใช้ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียวเข้ามาแทนที่ระบบพรรคการเมืองหลายพรรค หรือ บางครั้งอาจไม่มีพรรคการเมืองได้เลย / การที่ระบบการเลือกตั้งที่มีอยู่เป็นเรื่องของความต้องการที่จะแสดงให้เห็นว่า ผู้อยู่ใต้ปกครองได้รับรอง และยอมรับอำนาจของผู้ปกครองแล้ว หาใช่ เป็นการให้ผู้อยู่ใต้ปกครองเลือกเฟ้นตัวผู้ปกครองแต่อย่างใด เป็นต้น
--------------------------------------
ถ้าชอบคลิปลองโหลดมาทดลองเรียนกันได้เลย แต่ถ้าอยากดูทุกคลิปกดสมัครได้เลยราคาไม่แพง แถมมีชีทสรุปกับแบบฝึกหัดครบ 7 วิชาด้วยนะ
📲ดาวน์โหลด : bit.ly/YTdownl...

Пікірлер: 69

  • @StartDee
    @StartDee3 жыл бұрын

    ถ้าชอบคลิปลองโหลดมาทดลองเรียนกันได้เลย แต่ถ้าอยากดูทุกคลิปกดสมัครได้เลยราคาไม่แพง แถมมีชีทสรุปกับแบบฝึกหัดครบ 7 วิชาด้วยนะ 📲ดาวน์โหลด : bit.ly/YTdownloadstartdee

  • @lorenzojabari6465

    @lorenzojabari6465

    3 жыл бұрын

    instablaster...

  • @iseeudeadman239
    @iseeudeadman2393 жыл бұрын

    จริงๆ จะเป็นแนวคิด 2 รูปแบบ เป็นแนวคิดที่แตกออกมา หลังจากที่การปกครองรูปแบบจักรวรรดิ์สิ้นสุดลงคับ เป็นการแบ่งการปกครองตามแนวคิด (ไอเดีย) แต่ ณ ปัจจุบัน ถ้าเรียนแบบเจาะลึกในเชิงการเมืองการปกครอง โลก ณ ปัจจุบันนี้ จะแบ่งตามรูปแบบการปกครอง ได้ 4 รูปแบบคับ 1)ประชาธิปไตย แบบไม่มีกษัตริย์ (Democracy) 2)แบบสาธารณรัฐ สังคมนิยม จะเป็นรูปแบบที่ผสมผสาน คือ เอาแนวคิดชาตินิยมนำหน้า และ ใช้การบริหารในรูปแบบใหม่ ผ่านสภาสูงสุดแห่งชาติ คือ เอาชาตินำหน้า เน้นหลักความมั่นคง 3)แบบราชาธิปไตย หรือ แบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข เช่น ภูฏาณ ประเทศไทย อังกฤษ ฯลฯ คือ มีบทบัญญัติแยกชัดเจน ระหว่าง ประมุขแห่งรัฐ กับ ฝ่ายบริหาร 4)แบบสมบูรณายาสิทธิราช แต่จะเป็นในรูปแบบใหม่ บริหารภายใต้กฏหมายสูงสุดของประเทศ โดยมี สถาบันกษัตริย์ทำหน้าที่ทั้งเป็นประมุขและฝ่ายบริหาร เช่น บรูไน ซาอุ ฯลฯ เป็นต้น ในส่วนการเลือกตั้ง* เป็นเพียงวิธีการเท่านั้นนะคับ ไม่ได้เจาะจงว่าจะต้องอยู่ในรูปแบบการปกครองใด แม้แต่ระบอบแนวคิดคอมมิวนิสต์ในอดีต ก็มีการใช้การเลือกตั้งคับ เพื่อให้เกิดการยอมรับ* อันนี้ ผมเสริมในแนวคิดตามหลักความจริงสากลนะคับ อาจจะอยู่นอกเหนือบทเรียน ณ ตำราเรียนที่กำลังเรียนอยู่ ซึ่งมันเป็นการศึกษาขั้นที่ละเอียดขึ้นอีกหน่อยคับ (เผื่อใครชอบ ใครสนใจ)

  • @studymusic984
    @studymusic9842 жыл бұрын

    ดีมากเลยค่ะ เข้าใจขึ้นเยอะมากๆ ตอนเรียนที่โรงเรียนเรียนผ่านๆ ตอนนี้จำไม่ได้แล้ว ตอนนี้มาหาดูใหม่เพราะสนใจ เข้าใจแจ่มแจ้งเลย ขอบคุณมากๆนะคะ เดี๋ยวช่วงไหนว่างๆจะสมัครเข้าไปเรียนในแอพนะคะ 🥰

  • @user-ru4kd8cw4r
    @user-ru4kd8cw4r2 жыл бұрын

    เมืองไทยต้องพูดจริงสินความจริงที่เกิดในประเทศไทย เช่น การเกิดรัฐประหารในประเทศไทยมีกี่ครั้งแต่ละครั้งใครเป็นผู้ดำเนินการ ใครเป็นเป็นผู้สืบทอดอำนาจ เพราะเหตุใด ในการปกครองนั้นมีการทุจริตอย่างไร และมีการแก้ไขอย่างไร ต้องสอนให้นักเรียนทราบด้วยว่า มีการร่างรัฐธรรมนูญเพื่อเอื้อแก่การสืบทอดอำนาจหรือไม่ ควรสอนให้นักเรียนทราบด้วยว่า การปกครองแบบประชาธิปไตยต้องมีความอดทน ต้องแก้ด้วยระบบประชาธิปไตยด้วยกัน ไม่ใช่แก้แบบการรัฐประหารด้วยการยึดอำนาจ ต้องสอนด้วยว่าการปฏิวัติรัฐประหารยึดอำนาจเป็นการกระทำที่ไม่ถูกต้อง เป็นการกระทำที่เลวทราม โดยหน่วยงานยุติธรรมศาลต้องไม่ยอมรับอำนาจที่มาโดยไม่ถูกต้อง โดยไม่ยอมรับรัฐบาลที่มาจากการยึดอำนาจ ไม่รับคัดสินคดีที่กล่าวหาโดยรัฐบาลที่มาจากการรัฐประหาร

  • @user-lb8tu8qo7q
    @user-lb8tu8qo7q4 ай бұрын

    ขอบคุณ​นะคะ​ สอนดีมากๆ❤

  • @user-ur6qx9fw2y
    @user-ur6qx9fw2y3 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @user-mb6ub3gg4f
    @user-mb6ub3gg4f3 жыл бұрын

    ขออนุญาตใช้ประกอบการสอนค่ะ ขอบคุณมากค่ะ

  • @kanchanitkonrattanasak6175
    @kanchanitkonrattanasak61752 жыл бұрын

    อธิบายได้ดี กระชับ เข้าใจง่ายค่ะ

  • @fc.7506
    @fc.7506 Жыл бұрын

    คลิปดีมีประโยชน์มาก ทุกคนสมควรดูคลิปแบบนี้ มากกว่าดูซีรี่ย์

  • @Jaywawa
    @Jaywawa3 жыл бұрын

    🙏

  • @user-vx8bb9de3u
    @user-vx8bb9de3u Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะ

  • @at16pm_59
    @at16pm_593 жыл бұрын

    ประเทศไทยไม่ได้เป็นเผด็จการหรอคะเนี่ย

  • @milkycreampie7

    @milkycreampie7

    3 жыл бұрын

    จุ๊ๆ55555

  • @user-qx7km2gz7t

    @user-qx7km2gz7t

    3 жыл бұрын

    ประชาธิปไตยเป็นเพียงแค่ลมปาก แต่การกระทำคือเผด็จการ🤣🤣🤣

  • @iseeudeadman239

    @iseeudeadman239

    3 жыл бұрын

    คำว่า ระบอบเผด็จการ ถ้าเข้าใจหลักการและศึกษาประวัติศาสตร์ มีเพียงประเทศเดียวที่เคยใช้และใกล้เคียงกับตำรามากที่สุด คือ รัสเซียในยุคสมัยของเลนิน คับ ผลคือ ประเทศตกอยู่กับความลำบาก ความเท่าเทียมไม่มีอยู่จริง คนมีอำนาจล้นฟ้าคือ ฝ่ายผู้บริหาร มีอำนาจยิ่งกว่ากษัตริย์ ยิ่งกว่าสมมุติเทพคับ!! .... ณ ปัจจุบัน ที่ได้รับอิทธิพลนั้นมาโดยตรง คือ เกาหลีเหนือคับ แม้แต่จีนเอง ก็ใช้ระบอบการปกครองแบบผสมผสาน แค่มีสภาแห่งชาติเป็นสภาหลักเท่านััน สภาประชาชนเขาก็คัดสรรเข้ามาบริหารประเทศแบบสมัยใหม่คับ คำว่า เผด็จการ มองง่ายๆ คับว่าใครเป็นเผด็จการบ้าง เพราะ เขาใช้ตำรา มาร์คซีส ในการสร้างความเชื่อให้กับคนคับ เช่น วาทกรรม เสรีภาพ เท่าเทียม เสมอภาค ยุติธรรม สู้เพื่อชนชั้น สู้เพื่อแรงงาน สู้เพื่อความยากจน คนรุ่นใหม่ เพื่อสิ่งที่ดีกว่า ฯลฯ โน่น นี่ นั่น .... คำพูดพวกนี้ คือ ตำราหลักคิดของ "คอมมิวนิสต์"! คับ

  • @iseeudeadman239

    @iseeudeadman239

    2 жыл бұрын

    @The Beyonder ขอบคุณคับ เป็นความคิดเห็นที่น่าสนใจนะคับ แต่ผมเห็นแย้งนิดนึงคับ ในเรื่องคำว่าประชาธิปไตย 100% ไม่มีอยู่จริง อันนี้ ถูกต้องคับ เป็นการวิเคราะห์ในช่วงหลังๆ ... แต่เหตุผลประกอบแนวคิดนั้นสำคัญกว่าคับ ต้องเข้าใจพื้นฐานของหลักการปกครองก่อนนะคับ ซึ่งจริงๆ ตำราที่แบ่งแนวคิดการปกครอง แค่ 2 รูปแบบ คือ แนวคิดประชาธิปไตย กับ คอมมิวนิสต์นี่ เป็นตำราที่โบราณมากแล้วคับ เพราะจริงๆ ในรูปแบบการปกครองปัจจุบัน มีความหลากหลายมาก และอย่าง คอมมิวนิสต์จริงๆ ก็เหลือไม่กี่ประเทศแล้ว เช่น เกาหลีเหนือ เป็นต้น / อย่างจีน จริงๆ การบอกจีนเป็นคอมมิวนิสต์ ถือเป็นคำกล่าวของอเมริกานะคับ เพราะจีน จริงๆ ปกครองแบบผสมผสานมานานแล้ว เพราะมีการเลือกตั้ง เลือกตั้วแทนเข้ามาในสภา แบบผสมผสาน กลับมาที่คำว่า ประชาธิปไตย 100% ไม่มีอยู่จริง ไม่ใช่เพราะเรื่องสิทธิ เสรีภาพ และเรื่องชนชั้น รวยจนนะคับ....ความเป็นจริงแล้ว คำว่า ประชาธิปไตยไม่มีอยู่จริง 100% นั่นเพราะ "สุดท้ายแล้ว อำนาจก็ล้วนตกอยู่ในมือของกลุ่มบุคคลใด บุคคลหนึ่งเท่านั้น! มิได้เป็นของมวลชนทั้งหมดอย่างแท้จริง!!" คับ ฉะนั้น ความเป็นจริง ต่อให้เป็นระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย แต่ถ้ามีผู้นำที่เป็นหัวเผด็จการ ก็สามารถใช้อำนาจนั้นปกครองประเทศให้เป็นรูปแบบคอมมิวนิสต์ได้เช่นกัน.....พอจะนึกภาพออกมั้ยคับ? โดยสรุป การที่เราแยกการปกครองแค่ 2 รูปแบบ ผมมองว่า เป็นการมองที่แคบเกินไป เพราะไปมองแค่ "วิธีการเลือกตัวแทน" เท่านั้น! เช่น ประชาธิปไตยให้อำนาจประชาชนเลือกตั้วแทน แต่แนวสังคมนิยมก็จะมีสภาสูง สภาหลัก สภาทหารเป็นหลักในการกำหนดนโยบายแห่งชาติ เช่น จีน พม่า ลาว เป็นต้น หรือแม้แต่รัสเซียที่ปกครองแบบประธานาธิบดี เลือกตั้ง ก็ยังถูก อเมริกา ผลักให้ไปอยู่ฝั่งจีน เป็นต้น ดังนั้น แนวคิดที่ว่า ประชาธิปไตยแบบ 100% เพื่อคนส่วนใหญ่ ที่ไม่มีอยู่จริง....ส่วนตัว ผมมองว่าเพราะ เราไม่มีทางการันตีได้ว่า จะได้ผู้บริหารประเทศที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศชาติของพลเมืองทั้งหมดของประเทศได้จริงๆ เท่านั้นเอง (จึงจำกัดอำนาจการบริหารเพียงไม่กี่ปีเท่านั้น หมุนเวียนเพื่อเลือกใหม่ ไปเรื่อยๆ) ไม่เกี่ยวกับเรื่องความเท่าเทียม ชนชั้น หรือรวยจนคับ (อย่างเช่น เกาหลีเหนือ สหภาพรัสเซียสมันเลนิน นี่เอาตำราคอมมิวนิสต์ เอาระบบคอมมูนมาบริหารเกือบ 100% เลยนะคับ ผลประกฏว่า พลเมืองเท่าเทียมกันหมดจริงๆ แต่เต็มไปด้วยความแร้นแค้น อดอยาก และอำนาจไปอยู่ที่กลุ่มผู้บริหารประเทศแทนทั้งหมด กลายเป็นดุจพระเจ้า ยิ่งใหญ่กว่ากษัตริย์) .... เพราะสุดท้ายแล้ว ไม่ว่าจะระบอบไหน ก็ต้องมี 2 กลุ่ม อยู่ดี คือ กลุ่มผู้ปกครอง และ ผู้ถูกปกครองคับ ไม่ว่าจะระบอบไหน....ประชาชนหรือมวลชน ก็ยากที่จะได้ "ตัวแทน" ที่มีหัวใจเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง นี่คือ หัวใจของประเด็นนี้คับ

  • @user-qw1jr1ux6p

    @user-qw1jr1ux6p

    Жыл бұрын

    ประเทศไทยปกครองโดย(ประชาธิปไตยภายใต้ค่าโรงงานครับ)...เพราะตอนนี้ไทยมีระบบปกครองที่ล้ําหน้ากว่าหลายประเทศครับ..ไม่ใช่ประชาธิปไตยและไม่ใช่เผด็จการ แต่...ประเทศไทยปกครองระบบที่ด้วยระบบค่าโรงงาน=ค่าดีฟอลต์ return to factory ครับ เหมือนที่มีอยู่ในมือถือ,คอมพิวเตอร์,Ipad,iIphone และจะมีการเซ็ต ค่าดีฟอลต์หรือค่าโรงงาน=return to factory settings ทุกๆ 7-8ปี ครับ (การรีเซ็ตนั้นคือการรัฐประหารหรือมาจาการเลือกตั้งครับ)

  • @user-hq6ii4rk1s
    @user-hq6ii4rk1s2 жыл бұрын

    ใด้ความรู้มากเลยค่าบบบ

  • @user-lt6dw7nc2m
    @user-lt6dw7nc2m3 жыл бұрын

    มีรูปแบบการปกครองของประเทศไทย กับ จีนไหมครับ อยากได้เนื้อหาเพื่อไปนำเสนอ อจ มหาลัยครับ

  • @StartDee

    @StartDee

    3 жыл бұрын

    มีเนื้อหาเกี่ยวกับประเทศจีนเยอะเลยค่ะ สามารถเข้าไปดูได้ที่แอป StartDee ได้เลยค่ะ ลงทะเบียนครั้งแรกจะได้รับสิทธื์เรียนฟรี 7 วันเลย

  • @liberinzebra1113

    @liberinzebra1113

    3 жыл бұрын

    Wikipediaเลียน้อง

  • @user-qw1jr1ux6p

    @user-qw1jr1ux6p

    Жыл бұрын

    แต่ตอนนี้ไทยมีระบบปกครองที่ล้ําหน้ากว่าหลายประเทศครับ..ไม่ใช่ประชาธิปไตยและไม่ใช่เผด็จการ แต่...ประเทศไทยปกครองระบบที่ด้วยระบบค่าโรงงาน=ค่าดีฟอลต์ return to factory ครับ เหมือนที่มีอยู่ในมือถือ,คอมพิวเตอร์,Ipad,iIphone และจะมีการเซ็ต ค่าดีฟอลต์หรือค่าโรงงาน=return to factory settings ทุกๆ 7-8ปี ครับ (การรีเซ็ตนั้นคือการรัฐประหารหรือมาจาการเลือกตั้งครับ)

  • @suntnskpt7322
    @suntnskpt73223 жыл бұрын

    ดีมากครับเหมือนมีคนมาอ่านหนังสือหน้าที่พลเมืองของ ม.4 ให้ฟังเลยครับ

  • @StartDee

    @StartDee

    3 жыл бұрын

    ฟังก่อนนอนแปปเดียวก็จำได้แล้ว ใช่ไหม ๆ ^^

  • @yahyeeee1565

    @yahyeeee1565

    2 жыл бұрын

    @@StartDee ฟังตอนเช้าเหมือนจะจำได้เร็วกว่าเลย แปลกๆ55555

  • @seetqmqriqm5917
    @seetqmqriqm59173 жыл бұрын

    ขอถามรัยหน่อยน่ะค่ะ ประขุมของรัฐในการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบพระมหากษัตริย์และแบบประธานาธิบดีมีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?ค่ะ ตอบหน่อยน่ะค่ะ

  • @iseeudeadman239

    @iseeudeadman239

    3 жыл бұрын

    ประมุขแห่งรัฐ คือ ผู้นำสูงสุดคับ ผู้นำสูงสุดที่บัญญัติไว้ในตัวบทกฏหมาย ซึ่งแต่ละประเทศแตกต่างกันไป ตามแต่ที่มาทางประวัติศาสตร์ การยอมรับของประชาชน และการเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคแต่ละสมัยคับ นั่นคือ - ในระบอบประชาธิปไตย แบบไม่มีกษัตริย์ ก็จะมีประธานาธิบดี เป็นทั้งผู้นำสูงสุด และ ผู้นำฝ่ายบริหาร - ในระบอบสมบูรณายาฯ กษัตริย์ก็จะเป็นทั้งประมุขและฝ่ายบริหาร เช่น บรูไน ซาอุ - ในระบอบราชาธิปไตย หรือ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ก็จะมีกษัตริย์เป็นประมุข แต่มีนายกฯ เป็นผู้นำสูงสุดฝ่ายบริหาคับ เช่น ประเทศไทย อังกฤษ ญี่ปุ่นจะใช้คำว่าพระจักรพรรดิ์คับ ภูฏาณ และอีกหลายประเทศ เป็นต้น ถ้าจะให้เทียบเท่ากัน ก็เทียบเท่ากันได้คับ ในฐานะตัวแทนหรือผู้นำสูงสุดนะคับ / แต่ความเทียบเท่าโดยการยอมรับ โดยศักดิ์ทางสังคมอาจจะคนละมิติคับ เพราะการให้ความสำคัญของระบบกษัตริย์ในการยอมรับไม่เท่ากันคับ กล่าวคือ ประธานธิบดีผ่านมาแล้วผ่านไป แต่กษัตริย์ยังคงอยู่สืบไปและทำหน้าที่เป็นตัวแทนประมุขแห่งรัฐต่อไป ... ตรงนี้ ก็จะมีความเหนียวแน่น เข้มแข็ง และมั่นคงมากกว่า ตำแหน่งประธานาธิบดีคับ ภาษาชาวบ้านคือ เรามีรากเหง้าทางประวัติศาสตร์ แต่บางประเทศเขาไม่มี เขาตั้งประเทศกันขึ้นมาเอง ตั้งกันเองโดยกลุ่มผู้นำ เท่านั้นคับ และความแตกต่างของระบอบกษัตริย์ในรูปแบบประชาธิปไตย ก็ไม่เหมือนกันคับ ยังมีรายละเอียดอีกมากมายเช่นกัน ฉะนั้น ทุกประเทศในโลก แม้ว่าจะมีการปกครองแบบเดียวกัน แต่รายละละเอียดการบริหารจัดการ ล้วนแตกต่างกันคับ

  • @Realllalita_
    @Realllalita_ Жыл бұрын

    การปกครองแบบผสม” (mixed regime)ที่สะท้อนการประกันการมีเสรีภาพ ในความคิดเห็นของระบอบรัฐสภาของไทยแตกต่างจากระบบของสหราชอาณาจักรอย่างไรและความแตกต่างเหล่านั้นส่งผลอย่างไรต่อการพัฒนาประชาธิปไตยไทย

  • @user-qx7km2gz7t
    @user-qx7km2gz7t3 жыл бұрын

    เสียดายที ปชช.ยังไม่เข้าใจอย่างลึกซึ่งว่ามีอำนาจในระบอบประชาธิปไตย์ ปัจจุบันนี้ ปชช.ยังยึดติดกับระบอบอำนาจนิยม...

  • @iseeudeadman239

    @iseeudeadman239

    3 жыл бұрын

    ระบอบอำนาจนิยม เป็นวาทกรรมคับ ไม่ใช่หลักการและรูปแบบการปกครอง ... เป็นเพียงวาทกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อผลักให้เกิดความเข้าใจที่บิดเบือนและเกลียดชัง แบ่งฝ่ายทางความคิดคับ สมัยก่อนอาจจะมี เช่น ซ้ายจัด ขวาจัด อนุรักษ์นิยม กลุ่มหัวก้าวหน้า ฯบฯ เหล่านี้คือ คำที่กลุ่มคนบางกลุ่มใช้เรียกตัวเอง และ ผลักกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับตัวเองแยกออกไป เท่านั้นคับ / สมัยนี้ ถ้าประเทศที่พัฒนาแล้ว เขาจะไม่แบ่งแยกความคิดแล้วคับ

  • @yuri5200
    @yuri52003 жыл бұрын

    ฟังก่อนนอนไรงี้ ท่องได้เลย555+

  • @tatari916
    @tatari9162 жыл бұрын

    ชอบคอมมิวนิสต์มากกว่า บ้านเมืองเจริญประชาชนอยู่ดีกันดี

  • @_kk0enq
    @_kk0enq2 жыл бұрын

    ฮือออ เสียงเบามักๆ

  • @_kk0enq

    @_kk0enq

    2 жыл бұрын

    เนอะๆ

  • @panaddakapinid8024
    @panaddakapinid80243 жыл бұрын

    มีสรุปไหมคะ แบบคัดลอกส่งจารไรงี้5555

  • @StartDee

    @StartDee

    3 жыл бұрын

    มีใน App ค่าาา

  • @tr8380

    @tr8380

    3 жыл бұрын

    นั้น

  • @deaddead5058

    @deaddead5058

    3 жыл бұрын

    สายเดียวกัน

  • @Bxsnpz_

    @Bxsnpz_

    3 жыл бұрын

    จริงงงง5555

  • @pracha1995
    @pracha199511 ай бұрын

    มันใช้เหรอประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตร ผมว่าไม่น่าใช่นะ ตั้งแต่ให้สว.มีสิทธิ์เลือกนายกได้ผมก็คิดว่ามันไม่ใช่แล้ว

  • @arjbumroong627
    @arjbumroong6273 жыл бұрын

    ขออนุญาตนำไปใช้ในการสอนค่ะ

  • @sricyfy2986
    @sricyfy2986 Жыл бұрын

    ทำไมถึงเรียกประชาธิปไตยว่า democracy ไม่เรียกว่า polity หรอคะ

  • @FlushaTheWolfy

    @FlushaTheWolfy

    Жыл бұрын

    เท่าที่หาข้อมูลมา เหมือนคำว่า democracy ที่แปลว่าประชาธิปไตย มาจากรากศัพท์ดั้งเดิม ภาษากรีกครับ ซึ่งเป็นการผสมกันของคำสั้นๆ 2 คำครับ 1.คือคำว่า demos ที่แปลว่าประชาชนที่อยู่อาศัยร่วมกันในรัฐ หรือ ประเทศเดียวกันครับ กับคำว่า kratos ที่แปลว่ากฎหรือพลังอำนาจครับ ประมาณว่า กฎหรืออำนาจของประชาชนที่อยู่บนผืนเเผ่นเดียวกันอะไรประมาณนั้น

  • @sricyfy2986

    @sricyfy2986

    Жыл бұрын

    @@FlushaTheWolfy ขอบคุณค่ะ

  • @ituapuanch4066
    @ituapuanch40663 жыл бұрын

    5:09

  • @rrrr-vh4yt
    @rrrr-vh4yt3 жыл бұрын

    และโดนดูถูกล่ะครับ

  • @sandwich.h5009
    @sandwich.h50093 жыл бұрын

    การที่รัฐหนึ่งมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายเพื่อจัดระเบียบอำนาจรัฐ แสดงว่ารัฐนั้นจะต้องมีการปกครองในระบบประชาธิปไตยเสมอไปไหมคะ เพราะอะไร

  • @iseeudeadman239

    @iseeudeadman239

    3 жыл бұрын

    คำว่า รัฐธรรมนูญ (Constitution) เป็นสากลคับ เป็นตัวบทกฏหมายสูงสุดของประเทศคับ ไม่ว่าจะปกครองในระบอบใดย่อมจะมีรัฐธรรมนูญเป็นหลักในการปกครอง เพราะโลกปัจจุบันจะใช้กฏหมายเป็นตัวควบคุมดูแลคนในประเทศคับ เพราะระบบกษัตร์ย์แบบสมัยโบราณที่ทุกอย่างขึ้นกับกษัตริย์แบบสมัยอิยิปต์ โรมัน จักรวรรดิ์ มันไม่มีแล้วคับ แม้แต่ประเทศที่ยังเป็นระบบสมบูรณายาสิทธิราช อย่าง บรูไน ซาอุฯ และอีกหลายประเทศ ก็ใช้กฏหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฏหมายสูงสุดเช่นกันคับ

  • @user-ls5pb6nw3e
    @user-ls5pb6nw3e3 жыл бұрын

    พยายามเตรียมอะไรหรือเปล่าครับ

  • @zumzim9508
    @zumzim95083 жыл бұрын

    จีนไม่ใช่รัฐรวมหรอคะ

  • @StartDee

    @StartDee

    3 жыл бұрын

    จีนเป็นรัฐเดี่ยว เพราะมีรัฐบาลกลางเพียงแห่งเดียว ไม่มีรัฐบาลท้องถิ่น เพียงแต่แบ่งการปกครองเป็นมณฑลต่างๆค่า สามารถดูเพิ่มเติมอย่างละเอียดได้ใน App เลยน้า

  • @user-li3nc7fw3l
    @user-li3nc7fw3l3 жыл бұрын

    อ่อเข้าใจแล้วครับแต่แค่ไม่รู้เรื่อง

  • @phaithounshounthavong9236
    @phaithounshounthavong92362 жыл бұрын

    วาระ8ปี มันเป็บแบบไหน

  • @user-uv5ws4ej7h
    @user-uv5ws4ej7h3 жыл бұрын

    ไทยระบบไรอ่ะคะ เอาให้แน่ ? 😂

  • @user-qw1jr1ux6p

    @user-qw1jr1ux6p

    Жыл бұрын

    ประชาธิปไตยภายใต้ค่าโรงงานครับ...เพราะตอนนี้ไทยมีระบบปกครองที่ล้ําหน้ากว่าหลายประเทศครับ..ไม่ใช่ประชาธิปไตยและไม่ใช่เผด็จการ แต่...ประเทศไทยปกครองระบบที่ด้วยระบบค่าโรงงาน=ค่าดีฟอลต์ return to factory ครับ เหมือนที่มีอยู่ในมือถือ,คอมพิวเตอร์,Ipad,iIphone และจะมีการเซ็ต ค่าดีฟอลต์หรือค่าโรงงาน=return to factory settings ทุกๆ 7-8ปี ครับ (การรีเซ็ตนั้นคือการรัฐประหารหรือมาจาการเลือกตั้งครับ)

  • @ParseeAikoku
    @ParseeAikoku3 жыл бұрын

    ไม่ใช่ว่าประเทศญี่ปุ่นกับอังกฤษ ใช้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นสัญลักษณ์ หรอ?

  • @iseeudeadman239

    @iseeudeadman239

    3 жыл бұрын

    คำว่า สัญลักษณ์เป็นวาทกรรมอำพรางนะคับ ประเทศที่ยังคงไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ ล้วนมีตัวบทกฏหมายรองรับพระราชอำนาจแทบทั้งสิ้นคับ ซึ่งมากน้อยแค่ไหนก็แตกต่างกันในแต่ละประเทศครับ ไปดูรายละเอียดได้คับ เพียงแต่ ในแต่ละประเทศนั้นๆ การเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์จะลดทอนความสำคัญลงไปมากน้อยเพียงใด แต่ก็ยังมีบทบาทในอีกหลายๆ มิติ คับ ไม่ใช่แค่เชิงสัญลักษณ์เท่านั้นนะคับ อย่างอังกฤษนี่ กฏหมายเกี่ยวกับพระราชวงศ์เยอะมากนะคับ / ส่วนญ๊่ปุ่นเขาลดบทบาทของพระจักรพรรดิ์ลง ตั้งแต่ญี่ปุ่นแพ้สงครามแล้วคับ ไม่ต่างจากหลายประเทศ ที่กษัตริย์ก็จะค่อยๆ หายไป ตราบใดที่ยังมีบัญญัติไว้ในตัวบทกฏหมาย ก็ยังถือว่ายังมีบทบาทในการปกครองประเทศคับ มิได้เป็นเพียงสัญลักษณ์ ... พูดง่ายๆ คือ เชิงสัญลักษณ์มันไม่มีคับ!! ถ้าไม่มีบทบาทก็คือ หายไปเลย เช่น ราชวงศ์ลาว, ราชวงศ์ในกัมพูชา เป็นต้น คือ เชื้อพระวงศ์เหล่านี้ ก็ไม่มีบทบาทแล้ว รอวันหายไปคับ แต่ที่ยังมีอยู่ คือ มีกฏหมายคุ้มครอง รองรับพระราชอำนาจ ฉะนั้น ไม่มีประเทศใดที่มีกษัตริย์ที่่มีกฏหมายรองรับ เป็นกษัตริย์เชิงสัญลักษณ์คับ ... คำว่า เชิงสัญลักษณ์ เป็นวาทกรรมบิดเบือน อำพรางข้อเท็จจริงเท่านั้นเอง

  • @egisilham3742
    @egisilham37422 жыл бұрын

    Gk ngerti

  • @user-fd8uy6yg2i
    @user-fd8uy6yg2i2 жыл бұрын

    ใครสรุปให้เราได้บ้าง😂

  • @Dragonfly_466
    @Dragonfly_4663 жыл бұрын

    เหมือน hitlerเลย

  • @nattasitmanojam8523
    @nattasitmanojam85232 жыл бұрын

    ไม่ค่อยเข้าใจคับ

  • @StartDee

    @StartDee

    2 жыл бұрын

    มีคำถามอยากฝากให้คุณครูของ StartDee ช่วยตอบให้มั้ยคะ :)

  • @user-zy3fz6gc9v
    @user-zy3fz6gc9v3 жыл бұрын

    ผมไม่ชอบสังคม ผมอยากให้สังคม เปลี่ยน ระบบการ พัฒนา รูปแบบการปกครองขึ้นมาใหม่

  • @iseeudeadman239

    @iseeudeadman239

    3 жыл бұрын

    เริ่มจากพัฒนาตัวเองก่อนคับ ถ้าประชาชนมีคุณภาพ สังคมก็จะมีคุณภาพ การเมืองก็จะมีคุณภาพคับ

Келесі