No video

ทำไม "พื้นที่แห้งแล้ง" ถึงเหมาะแก่การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในอดีต: ขรรค์ชัย-สุจิตต์ ทอดน่องท่องเที่ยว

พื้นที่แห้งแล้ง มีคุณต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์อย่างน้อย 3 ประการ 1.เทคโนโลยีง่าย ๆ ก็อยู่ได้ 2.พื้นที่ราบกว้างใหญ่ รองรับประชากรได้อีกมาก คือ 3.โรคภัยไข้เจ็บเบาบางกว่าพื้นที่ร้อนชื้น
เดินทางทอดน่องท่องเที่ยวเพื่อศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์-โบราณคดี-วัฒนธรรมของสังคมไทย ไปกับ 2 กุมารสยาม "ขรรค์ชัย บุนปาน - สุจิตต์ วงษ์เทศ"
#ขรรค์ชัยสุจิตต์ #ทอดน่องท่องเที่ยว #ประวัติศาสตร์
Facebook : / khanchaisujit

Пікірлер: 88

  • @user-mn5rx5tx5r
    @user-mn5rx5tx5rАй бұрын

    อีสานเป็นแหล่งทองแดง❤สุดยอด! ขอบคุณมากคะสำหรับข้อมูล

  • @user-yn6bl2wp1c
    @user-yn6bl2wp1cАй бұрын

    พวกที่เม้นท์ว่าเกิดทันหรอ จิตอกุศลมาก เขาศึกษาครับ ใครจะเกิดทัน

  • @sutheetansathian5374
    @sutheetansathian5374Ай бұрын

    ลุงอายุ69 (ตอนนี้)ตอนพศ.2520ขับรถไปหาคนงานตัดอ้อย.ขับรถจากสีคิ้ว-ไปชุมแพ ขอนแก่น มหาสารคราม มองไปทางทุ่งนาข้างทางเกือบไม่มีต้นไม้เลย โดยเฉพราะ ช่วงภูเขียว แก้งค้อ สุดหูสุดตาต้นไม้แทบไม่มีเลย

  • @khunchanbackup3282
    @khunchanbackup3282Ай бұрын

    คนไม่ได้อยู่ในพื้นที่แห้งแล้งครับ เขาอยู่ตามลุ่มน้ำ คนทางอีสาน จะไม่นิยมปลูกบ้าน ริมน้ำเหมือนภาคกลาง มีข้อห้ามในฮีตสิบสอง คองสิบสี่ ห้ามปลูกเฮือนริมน้ำ คร่อมแม่น้ำ เพราะฤดูฝน น้ำจะขึ้นสูงทันทีทันใด ไม่เหมือนภาคกลางที่น้ำเหนือค่อยๆ ไหลลงไปอย่างช้าๆ ใครไปสร้างบ้านริมน้ำโดนน้ำซัดไปไม่รู้ตัว ชุมชนสมัยก่อนสร้างห่างจากแม่น้ำใหญ่ 1-2 กม. เพื่อป้องกันน้ำท่วม นี่คือวิถีปกติของคนที่ราบสูงอีสาน ฤดูฝน พื้นที่ทุ่งกุลา เต็มไปด้วยน้ำ ทำเกษตร ปลูกข้าวได้เป็นอย่างดี ฝนตกเฉลี่ยทั้งปีมากกว่าลุ่มน้ำภาคกลาง แต่ฤดูแล้ง น้ำซึมลงไปอยู่ใต้ดิน จึงทำให้เห็นว่าแล้ง กันดาร

  • @khunchanbackup3282

    @khunchanbackup3282

    Ай бұрын

    อาจารย์ควรดูประวัตศาสตร์ชนชาติลาว ร่วมด้วย วิถีชีวิตคนลุ่มแม่น้ำโขง กับลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ต่างกันอย่างมากๆ และต่างกันกับลุ่มแม่น้ำโตนเลสาบในเขมร

  • @user-hz7ci4kq7k

    @user-hz7ci4kq7k

    2 күн бұрын

    ที่ราบสูงอีสาน ขุดบ่อ ขุดบาราย ในหน้าแล้ง มีน้ำใช้ตลอด แม้อากาศแล้ง เมษายน แต่ฉันมีบาราย ไม่เคยกลัวอะไร แล้วปราสาทเขมรโบราณ ทุกแห่ง มีสระน้ำ ประกอบแผนผังปราสาท ทุกที่ เอาไว้ให้คน และสัตว์เดรัจฉาน ช้าง ม้า วัว ควาย มาดื่มกินหน้าแล้ง แล้วเขามี อ้อย มะพร้าว กล้วยน้ำว้า ลูกหว้า บักหวดข่า ลิ้นจี่ป่าคอแลน ตาลโตนด ถั่ว งา มันเทศ เผือก กลอย น้ำผึ้งป่า ข้าวตอก สามารถทานได้จ้า

  • @user-zk1vu4id5n
    @user-zk1vu4id5nАй бұрын

    เยี่ยม มาก ชอบ...

  • @suriyagic6359
    @suriyagic6359Ай бұрын

    สวัสดีครับ คนรุ่นเราไม่รู้ว่า ประเทศเราเป็นป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบทั้งประเทศ มีป่าทำให้มีความเย็นเหนือพื้นที่ของท้องถิ่นเพราะต้นไม้ใช้เม็ดความร้อนจากดวงอาทิตย์ไปสร้างพลังงานการสั่นสะเทือนเป็นธรรมชาติใช้ในขบวนการดำรงชีวิตของระบบพืชทั้งมวล ความเย็นเหนือแผ่นดินก่อให้เม็ดก็าชน้ำรวมตัวเป็นหมอก หยดน้ำ ฝน ครั้นยามหน้าฝนหน้าน้ำ พื้นที่จะถูกน้ำทำละลายส่งปุ๋ยธรรมชาติทุกชนิดที่มีไปทั่วบริเวณโดยรอบตามกระแสน้ำที่พาไป พื้นที่มีน้ำมีพืชอาหาร ก่อเกิดมีสัตว์นานาชนิด มีชาวอีสานต้นเผ่าพันธ์ุดำรงค์อยู่ได้ บางพื้นที่ก็เก็บเกลือมาขายหรือแลกเปลี่ยนสินค้าอื่นที่ชุมชนไม่มีกับชุมชนอื่น....มูลฐานเบื่องต้นของการเกิดคนในพื้นที่หรือภูมิภาคนี้. คนที่ทำลายป่าแล้วมอบหมายความร้อนแห้งแล้งให้พื้นที่มีผลต่อการทำลายอาหารที่ธรรมชาติสร้างให้ปีละครั้ง ทั่วภูมิภาคหมด จะใช้หนี้คืนประชากรแผ่นดินต้นสายพันธ์ุชาวสยามสายหนึ่งนี้อย่างไร หรือทำไม่รู้ฉลาดทำสัมปทานปุ๋ยต่อ เวนคืนที่สูบน้ำมันใต้ดินในช่วงถัดไป

  • @user-my9ci7yl9j
    @user-my9ci7yl9jАй бұрын

    ขนาดนักวิชาการทั้งประเทศยังไม่รู้ แล้วทำไมคุณตาถึงรู้ล่ะ คุณตาก็ไปด้อยค่าพวกเขาเหล่านั้นจนเกินไป การให้เกียรติ์กันสำคัญมากนะคุณตา

  • @user-nb2qw3tc9h

    @user-nb2qw3tc9h

    Ай бұрын

    ท่านไม่ใช่คุณตาแบบตาแก่ยายแก่นะครับ

  • @user-my9ci7yl9j

    @user-my9ci7yl9j

    Ай бұрын

    @@user-nb2qw3tc9h แล้วไงครับ ไปด้อยค่านักวิชาการที่ก็เป็นคนมีความรู้เหมือนกัน เก่งอยู่คนเดียว?คนอื่นกระจอกว่างั้น

  • @mayureenoumkhoksung8607

    @mayureenoumkhoksung8607

    Ай бұрын

    แกให้เกียรติ์ยกย่องอีกชนเผ่านึงอย่างน่าฉงน 😁😁

  • @user-fv3ny6xz3m

    @user-fv3ny6xz3m

    16 күн бұрын

    - แกสื่อสารถ่ายทอด ผ่านมาจากเหตุผลทางประสบการณ์ ความคิดแล้วไล่สายมาเรื่อยๆ เพื่อให้เชื่อมโยงจากหลักการต่างๆได้ - ต่างจากบทเรียนที่บางทีหาความเชื่อมโยงไม่ได้ แต่จะให้เชื่อมโยงกันให้ได้ เพียงแต่เขียนให้จำและบอกสิ่งนี้ต้องจำเพราะคือเรื่องจริงนะ - บางทีควรสนับสนุนแนวความคิดของท่านนี้ ควรพิสูจน์ เผื่อบางทีจะได้ปรับเปลี่ยนเรื้องราวความรู้มาต่อ ยอดต่อไปนึ้ - แต่บางทีการแก้ไขก็เป็นเรื่องยาก เพราะการไปแก้ไขเรื่องราวมันยาก เพราะนักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี มีนักปรัชญาหลายท่าน

  • @VakMool

    @VakMool

    10 күн бұрын

    ให้เกียรติคุณสุจิตต์ด้วย และทุกคน คนเหมือนกัน

  • @sitetbbangban304
    @sitetbbangban30429 күн бұрын

    อย่าเคาะกระดานบ่อยครับจารย์

  • @chanchankrit2740
    @chanchankrit2740Күн бұрын

    เดิมแห้งแล้งคือในไม่ค่อยตก

  • @thowsangchaichana6331
    @thowsangchaichana6331Ай бұрын

    จริงๆแล้วศิลปะขอมมีกระจายทัั่วภาคอีสาน ในขอนแก่น สารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ สกลนคร(ที่สกลนครเป็นเมืองขอมที่มีโครงสร้างขนาดใหญ่) ทางตอนใต้และตอนกลางทางฝั่งลาวก็มีเยอะ อาจรวมไปถึงทางตอนเหนือเช่นหลวงพระบางด้วย แปลกที่นักวิชาการในไทยให้ความสำคัญแต่อีสานใต้เป็นหลัก ในพงศวดารฝั่งลาว ตอนขุนลอ(ต้นตระกูลผู้ปกครองของลาว)ได้ยกทัพจากเมืองแถนเข้าตีเมืองซัว(เชียงทอง หลวงพระบาง)ได้ชัยชนะจากพวกขอมดำและได้แต่งกับธิดาทั้งเจ็ดของพวกขอมดำ แสดงว่าพวกไท-กะไดกับขอมดำได้ผสมหล่อหลอมรวมกันตั้งแต่ในอดีตแล้ว ตำนานท้าวศรีโครตตระบองฝั่งลาว ก็กล่าวชัดเจนท้าวศรีโครตเป็นชาวพระตระบองเป็นชายหนุ่มผิวดำร่างแข็งแร็งบึกบึน ผู้ปกครองเวียงจันทร์ยุคนั้นและธิดานางเขียวกรอมก็เป็นชาวขอมดำ ภายหลังพวกไท-กะได ขึ้นมามีอำนาจแทนพวกขอมดำ ก็แสดงให้ว่าคนพื้นเมืองดั้งเดิมในอีสานและบางส่วนในลาวคือพวกขอมดำ ภายหลังพวกไท-กะไดอพยพเคลื่อนย้ายเข้ามาผสมผสานกลืนพวกท้องถิ่นเดิม และได้ขี้มมามีอำนาจการปกครองแทนพวกดั้งเดิมในที่สุด

  • @VakMool

    @VakMool

    10 күн бұрын

    กาฬสินธุ์

  • @VakMool

    @VakMool

    10 күн бұрын

    ทั่ว

  • @kesarinb
    @kesarinbАй бұрын

    ไข้ป่าน้อยกว่า

  • @thowsangchaichana6331
    @thowsangchaichana6331Ай бұрын

    ภาษาหลักในอีสาน 1.ภาษาลาว(กลุ่มไท-กะได) 2.ภาษาเขมร(กลุ่มมอญ-เขมร) 3.ภาษาส่วย บรู (กลุ่มจาม-มะลายู) 4.ภาษาพื้นเมืองโคราช(กลุ่มไท-กะได) ปัจจุบันคนอีสานคือลูกผสมของคนกลุ่มเหล่านี้เป็นหลัก และมี จีนและเวียดนามเข้ามาผสมบ้างปะปลายในยุคหลัง

  • @boonhnasimanta1855

    @boonhnasimanta1855

    Ай бұрын

    เห็นด้วยเลยครับ

  • @mekgamon4460

    @mekgamon4460

    Ай бұрын

    1.ภาษาไท ลาว จ้วง (กลุ่มไทกะได) 2.ภาษาเขมร จามปา (กลุ่มออสโตรนีเชี่ยน ภาษานี้เข้ามาทางทะเล คล้ายชาวเกาะชวา อาเจะ) 3.ภาษาส่วย กูย บรู มอญ ลั๊วะ (กลุ่มออสโตรเอเชียติค เป็นภาษาดั้งเดิมของภาคพื้นสุวรรณภูมิ ก่อกำเนิดบนแผ่นดินนี้) ภาษากลุ่มไทกะได และกลุ่มกูย มอญ ไม่รู้ใครเก่าแก่กว่ากัน ในสุวรรณภูมิ ฝากข้อมูลนี้ไว้ให้พิจารณา ภาษามอญ กับเขมร ควรแยกจากกัน เพราะมีที่มีจากคนละที่

  • @user-fz6ix5we1v
    @user-fz6ix5we1vАй бұрын

    ผมอยากเปนกษัตครับ

  • @user-pn7lo7vm7h

    @user-pn7lo7vm7h

    Ай бұрын

    อยากเป็นก็ต้องทำบุญมากๆ ถ้าไม่ทำแล้วอยากเป็น ก็เป็นได้แค่สัด😅

  • @user-pm1qf5qn1r

    @user-pm1qf5qn1r

    Ай бұрын

    อยากเป็น. ไม่ต้องเกี่ยวข้องทำบุญ. ( ทำบุญ. หมายถึงอะไร? ) ที่ต่องทำคือ. มีกำลังคน. อำนาจอาวุธยุทโธปกรณ์. แล้วมีการจัดตั้งจัดการ ระบบองค์กร. ก็สำเร็จว​@@user-pn7lo7vm7h

  • @user-zl5ol2cp4l
    @user-zl5ol2cp4lАй бұрын

    มันดูขัดเเย้งกันมากครับ การสร้างบ้านเเปลงเมืองในที่เเห้งเเล้ง ผู้คนเเรงงานทรัพย์พยากรณ์ อาหาร ได้จากไหนถ้าไม่ใช่พื้นป่า

  • @user-xd2et9op7z

    @user-xd2et9op7z

    Ай бұрын

    ที่แห้งแล้งมันจะไม่มีโรคทำให้คนอยู่ได้ทึ่ลุ่มชื้นโรคภัยไข้เจ็บมันเยอะ

  • @user-hz7ci4kq7k

    @user-hz7ci4kq7k

    2 күн бұрын

    หน้าฝน ไม่แล้ง แค่แล้งช่วงมีนาคม-เมษายน แต่ชาวพื้นบ้าน ขุดบ่อน้ำ ขุดบาราย ขุดคูน้ำคันดิน มาเป็นพันปีจ้า น้ำหน้าฝน ก็ถูกกักไว้ใช้ หน้าแล้ง แล้วยุคสมัยนั้น สภาวะโลกร้อน ยังไม่รุนแรง น้ำบ่อ ยังมีน้ำไหลตลอดจ้า ขนาดทุ่งกุลา มันยังมีบ่อพันขัน ตักน้ำได้ไม่อั้น ดื่มฟรี ไม่ต้องมีเซเว่น ในยุคสมัยโบราณจ้า

  • @user-yx2dc2kb2m
    @user-yx2dc2kb2m22 күн бұрын

    ความเชื่อจากที่ค้นคว้ามาอาจได้มาอย่างผิดๆได้ แต่ถ้าความเชื่อนั้นแฝงไปด้วยการเข้าข้างเขมรเห็นจะเป็นการขายชาติสยาม

  • @porche2909
    @porche290916 күн бұрын

    แม่น้ำสินธุก็ไม่แล้งนะจารแม่น้ำไนก็อุดมสมบูญนะจารนะ

  • @user-dv9qs3pd3k
    @user-dv9qs3pd3k24 күн бұрын

    ช่างก่อสร้าง.สถาปนิก.วิศกร.สร้างปราสาทสมัยก่อน.ไปไหนกันหมดคับ ทุกวันนี้.มีเทคโนโลยีทันสมัย.ยังมองไม่ออกว่าจะสร้างปราสาทยังใง.คับ.อ.สุจิต

  • @user-xq9ld8dx6j
    @user-xq9ld8dx6jАй бұрын

    มันแล้ง ไม่ทันเำกินจะอยู่ยังงัยจาร

  • @user-cf8vv3ym9v
    @user-cf8vv3ym9v17 күн бұрын

    ถ้าคนอีสานคือคนเขมรมาก่อน แล้ว คนอีสาน พูดภาษาลาวตอนไหน 😊

  • @porche2909

    @porche2909

    16 күн бұрын

    น่าจะสมัยพระเจ้างุ้มแห่งล้านช้าง

  • @DuangRungsaengchan
    @DuangRungsaengchanАй бұрын

    ตอนที่เริ่มตั้งหลักแหล่งพื้นที่มันแห้งแล้งหรือเปล่า มีข้อมูลทางธรณีวิทยามาสนับสนุนหรือเปล่า

  • @user-wd6ye8qk9w
    @user-wd6ye8qk9w29 күн бұрын

    มหิธร เจ้าพ่อทีราบสูงส่วนเทพเจ้าทีราบสูงได้แก่หลวงพ่อคูณ

  • @duangkaejanikorn6394
    @duangkaejanikorn6394Ай бұрын

    ❤(อีสาน ยุค 5;000 ปี คือ ยุค(สัมฤทธิ์) )❤ ชาวสยามยุคโบราณ เป็นคนสร้างอารยธรรมขึ้นมา/เก๋าแก่กว่า(ปิรามิด) ที่อียิปต์/ปราสาทนครชัย สร้างก่อน ปราหินพิมาย /ปราสาทนครวัด/ปราสาทนครธรรม(ชัย7) /และมาถึงปราสาทพนมรุ้ง

  • @VakMool

    @VakMool

    10 күн бұрын

    ยุคสำริด

  • @VakMool

    @VakMool

    10 күн бұрын

    5,000 ปี

  • @VakMool

    @VakMool

    10 күн бұрын

    พีระมิด

  • @VakMool

    @VakMool

    10 күн бұрын

    ชัยวรมันที่ 7

  • @VakMool

    @VakMool

    10 күн бұрын

    ปราสาทหินพิมาย

  • @Dongbung41
    @Dongbung41Ай бұрын

    ทุ่งกุลาฝนตกต่อปี 1200 มิลลิเมตร เยอะกว่าเชียงใหม่ กรุงเทพอีก หน้าฝนทำนาอุดมสมบูรณ์ปกติ แล้งหน้าแล้งตามฤดูกาล ภาคเหนือ มีฝนตกเฉลี่ยทั้งภาค 1,205 มิลลิเมตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีฝนตกเฉลี่ยทั้งภาค 1,364 มิลลิเมตร

  • @ideaprinting7703

    @ideaprinting7703

    Ай бұрын

    ผมอายุ 45 ปี เคยเห็นข่าวแห้งแล้งของบริเวณนั้นมีข่าวตลอด เอาไงดี หรือว่าสมัยก่อนไม่แห้งแล้ง เพิ่งมาแห้งแล้งสมัยนี้ แต่ผมว่าเป็นปัจจัยทางธรณีมากกว่าครับ ดินอุ้มน้ำได้ดีกว่ามั้ย ไม่น่าจะใช้ปริมาณน้ำฝนอย่างเดียว

  • @jgffj

    @jgffj

    Ай бұрын

    อิสานดินปนทรายไม่อุ้มน้ำ. ฝนตกมาซึมลงดินหมด

  • @Dongbung41

    @Dongbung41

    Ай бұрын

    @@ideaprinting7703 ไม่อุ้มน้ำแต่หน้าฝนๆเยอะก็ทำนาดำได้สบายๆ ตอนนี้อังีสานปลูดฝกยางพารามากรองจากภาคใต้แล้ว ทุเรียนก็มีทุกจังหวัด

  • @khunchanbackup3282

    @khunchanbackup3282

    Ай бұрын

    @@ideaprinting7703 มันไม่แห้งแล้งนะครับ มันเป็นพื้นที่แม่น้ำตั้ง 3 สายใหญ่ๆ มูล ชี สงคราม ฝนหน้าฝนตกเยอะ บางทีเยอะจนน้ำท่วม แต่ด้วยที่ดินชั้นบนเป็นดินทราย เลยทำให้ฤดูแล้ง ไม่มีน้ำ แต่ตามแหล่งน้ำก็ยังมีให้คนอุปโภคบริโภคได้ แต่หมดฤดูเก็บเกี่ยว น้ำก็จะซึมลงใต้ดินหมด

  • @illbewhatworldwanted.521

    @illbewhatworldwanted.521

    Ай бұрын

    เขาทำเกลือด้วยนะครับ เป็นทรายด้วย

  • @user-zk1vu4id5n
    @user-zk1vu4id5nАй бұрын

    เพราะ ไม่อยาก ได้ชื่อว่า เป็นคนป่า คนดง...

  • @user-ns2jq8hf9l
    @user-ns2jq8hf9l5 күн бұрын

    มนุษย์หยุดเร่ร่อน และตั้งถิ่นฐานในที่ๆเห็นว่าอุดมสมบูรณ์

  • @ict9072
    @ict9072Ай бұрын

    มันไม่น่าจะแห้งแล้งสำรวจชั้นดินแล้วเหรอ น่าจะแสดงข้อมูลแบบนี้ด้วย ขนาดลาว พม่ายังเป็นป่า ไม่มีคนพันปีมันก็เป็นป่า แต่มันเพิ่งจะแห้งแล้งช่วงคนอพยพเข้ามาตัดไม้ทำลายป่าเผาพื้นที่ทำเพาะปลูกเลื่อนลอยไปเรื่อย ในช่วงไม่นานนี้ ผกค ยังตั้งแคมป์อยู่ในป่าเลย เดี๋ยวจะเห็นพื้นที่แห้งแล้งใน สปป ลาว

  • @user-op8di6us9u

    @user-op8di6us9u

    Ай бұрын

    คุณเคยมาอยู่เหรอถึงว่าไม่แห้งแล้ง ผมคนแถวทุ่งกุลาอายุ50ปีแล้ว สมัยก่อนเป็นเด็กแถวนี้แห้งแล้งป่าไม้ไม่มีหรอกคนถึงอพยพหนีไปหากินแถวอื่นเช่นเพชรบูรณ์ กำแพงเพชร ปัจจุบันมีน้ำ ทำนาได้ก็เกิดจากป่าปลูกและมีเขื่อน หาข้อมูลก่อนไปว่าเขานะ

  • @toonyrat6484

    @toonyrat6484

    Ай бұрын

    แล้วอิสานเป็นแบบทุ่งกุลาทั้งภาคมั้ยครับทุ่งกุลามีโบราณสถานเยอะมั้ยเมื่อเทียบกับพิมายลองไปหาคลิปอาจารย์ศรีศักดิ์มาดูนะท่านศึกษาโบราณสถานในอิสานตั้งแต่คุณเกิดเดินทางไปสถานที่จริงกินอยู่ใช้ชีวิตจนท่านตั้งข้อสรุปเกี่ยวกับอิสานได้เมืองพิมายเป็นเมืองน้ำนะครับ

  • @alfa7alfa

    @alfa7alfa

    Ай бұрын

    ​@@toonyrat6484มีหลักฐานไหมครับว่าภาคอีสานเป็นป่าดงดิบ เห็นอีสานยุคก่อนคำพูน บุญทวี มันก็แห้งแล้งโคตรๆ

  • @toonyrat6484

    @toonyrat6484

    Ай бұрын

    @@alfa7alfa ผมถามว่าแล้วมันแห้งแล้งทั้งภาคมั้ยคุณอ่านลูกอิสานจบทั้งเล่มหรือเปล่าแล้วปลายทางกองเกวียนไปจบที่แม่น้ำช่วยกันจับปลาไม่ใช่หรือพอกลับถึงบ้านฝนก็ตกพอดีใช่มั้ยครับกลับไปอ่านลูกอิสานใหม่นะ

  • @watanac4199

    @watanac4199

    Ай бұрын

    ​@@toonyrat6484คำจำกัดความ​"แห้งแล้ง"?

  • @user-kg2lf3cg9x
    @user-kg2lf3cg9xАй бұрын

    รู้อย่างไรเกิดทันรึท่าน

  • @LosoTab
    @LosoTabАй бұрын

    ศรีเทพ เก่ากว่านครวัด 900 ปี ... นั่นก็แสดงว่าคนจากศรีเทพ เดินทางไปสร้างนครวัด 🤪🤪🤪

  • @O.Phichit

    @O.Phichit

    Ай бұрын

    😂😂😂ศรีเทพ คือชาวมอญรามัญ เก่าอยู่แล้ว

  • @LosoTab

    @LosoTab

    Ай бұрын

    @@O.Phichit สายเคลม ก็มา ฮ่า ๆ 🤪 ตัวอักษร ปัลลวะ ไม่ใช่ตัวอักษรมอญ นะจ๊ะ ( เอา งี้ ไปหาหลุมฝังศพคนมอญ มายืนยันตัวตนให้ดู หน่อย ดิ ว่ามีกี่หลุม )

  • @nitnit4127

    @nitnit4127

    Ай бұрын

    @@O.Phichit ที่เขาเล่าในคลิปเป็นเรื่องราวมากกว่าพันปี ส่วนมอญรามัญที่อพยพมาจากพม่าเพิ่งเข้ามาไม่เกิน 500 ปี กลุ่มคนที่เคลื่อนย้ายเข้ามาอยู่ผสมผสานกันน่าจะไม่ต่ำกว่า 2,500 ปีมาแล้ว มอญพม่ามาทีหลัง

  • @O.Phichit

    @O.Phichit

    Ай бұрын

    @@nitnit4127 บ้านเชียง บ้านเก่า บ้านโนนวัด โครงกระดูกมนุษย์ DNA O2A มอญรามัญ ทั้งหมด

  • @O.Phichit

    @O.Phichit

    Ай бұрын

    @@LosoTab บ้านเชียง บ้านโนนวัด บ้านเก่า ศรีเทพ พิมาย โครงกระดูกมนุษย์ที่ขุดพบ DNA O2A สายพันธุ์ออสโตเอเชียติ มอญ/เขมร #DNAไทกะได คนไทยO1B 🤣🤣🤣🤣 ศึกษาเยอะๆนะ

  • @user-we2bi4db3z
    @user-we2bi4db3zАй бұрын

    นักวิชาเกิน

Келесі