ถามมาเดะ EP.4 | เรซิ่นไฟเบอร์กลาส R 355 กับ R 2508 ต่างกันอย่างไร | MK RESIN ถาม-ตอบ

#ถามมาเดะ #หล่อมั๊ยล่ะ #มารู้จักเราMKRESIN #เรซิ่นหนองจอก #เรซิ่นกรุงเทพ #เรซิ่นลาดกระบัง #หนองจอกเรซิ่น #เรซิ่นสมุทรสาคร #สมุทรสาครเรซิ่น #ศูนย์รวมเรซิ่น #ศูนย์รวมไฟเบอร์กลาส
#ของแท้ที่แท้ทรู_ต้อง_MK_RESIN_เท่านั้น #MKRESIN #เอ็มเคเรซิ่น
#ตัวจริงเรื่องเรซิ่น #จำหน่ายเรซิ่นไฟเบอร์กลาส #ใยแก้ว #น้ำยาเคลือบต่าง #ใยแก้วเอ็มเค #silicon #resin #fiberglass #ยางซิลิโคน #เรซิ่น #ไฟเบอร์กลาส #ทำพิมพ์ #แม่พิมพ์ #เอ็มเคทินเนอร์ #THINNER_AAA #ชุดซ่อมไฟเบอร์กลาส #JUSHI #ใยแก้วจูชิ #PUFOAM
สวัสดีครับ ผมลุงเอ จากเอ็มเค เรซิ่น
วันนี้ผมมาเปรียบเทียบตัวเรซิ่น 2 เบอร์ที่หลายคนต่างสงสัยและสอบถามกันมามากมายระหว่าง " 355 และ 2508 ต่างกันอย่างไร ?? วันนี้ลุงเอ มีคำตอบมาฝากทุกคนแล้วนะครับ
สิ่งที่แตกต่างกันระหว่าง 355 กับ 2508 แบ่งได้ 5 ข้อดังนี้
1.ลักษณะเนื้อเรซิ่น
2.ลักษณะการนำใช้งาน
3.ความหนืด
4.เนื้อเรซิ่น
5.ความแข็งแรง
✨ ส่วนไฮไลท์สำคัญ ของเรซิ่น 2 เบอร์นี้ ลุงเอ ได้รวบรวมคำตอบและรายละเอียดไว้แล้ว สามารถรับชมได้ที่คลิปวีดีโอได้เลยนะครับ ✨
สุดท้ายนี้ ฝากทุกคนช่วย กดไลท์ กดแชร์และกดติดตามช่องของลุงเอด้วยนะครับ
ติดต่อสอบถามหรือสั่งสินค้า 𝐌𝐊 𝐑𝐄𝐒𝐈𝐍
𝐓𝐞𝐥 : 088 809 5267 - 71
𝐋𝐢𝐧𝐞 : @mkresin
𝐅𝐚𝐧𝐩𝐚𝐠𝐞 : Mk Resin จำหน่าย เรซิ่น ไฟเบอร์กลาส ใยแก้ว น้ำยาเคลือบต่างๆ ฯลฯ
𝐖𝐞𝐝𝐬𝐢𝐭𝐞 : www.mkresin.com
🚚 สั่งสินค้าแบบบริการเก็บเงินปลายทาง
☛ 𝐋𝐀𝐙𝐀𝐃𝐀 : www.lazada.co.th/.../mk-resin...
☛ 𝐒𝐇𝐎𝐏𝐄𝐄 : shopee.co.th/mkgroup01
🛒 มีจำหน่ายสินค้าทั้งปลีก และ ส่ง 🌟
🕵🏻 MK Resin ยินดีให้คำปรึกษาไม่ว่างานเรซิ่นด้านไหน ๆ เราพร้อมที่จะช่วยคุณแก้ไขทุกปัญหา 💕
#ถามมาเดะ #หล่อมั๊ยล่ะ #มารู้จักเราMKRESIN #เรซิ่นหนองจอก #เรซิ่นกรุงเทพ #เรซิ่นลาดกระบัง #หนองจอกเรซิ่น #เรซิ่นสมุทรสาคร #สมุทรสาครเรซิ่น #ศูนย์รวมเรซิ่น #ศูนย์รวมไฟเบอร์กลาส
#ของแท้ที่แท้ทรู_ต้อง_MK_RESIN_เท่านั้น #MKRESIN #เอ็มเคเรซิ่น
#ตัวจริงเรื่องเรซิ่น #จำหน่ายเรซิ่นไฟเบอร์กลาส #ใยแก้ว #น้ำยาเคลือบต่าง #ใยแก้วเอ็มเค #silicon #resin #fiberglass #ยางซิลิโคน #เรซิ่น #ไฟเบอร์กลาส #ทำพิมพ์ #แม่พิมพ์ #เอ็มเคทินเนอร์ #THINNER_AAA #ชุดซ่อมไฟเบอร์กลาส #JUSHI #ใยแก้วจูชิ #PUFOAM

Пікірлер: 16

  • @nantawatsenbat5774
    @nantawatsenbat577426 күн бұрын

    ทำคันธนูควรใช้ตัวไหนคับ

  • @niwatpunta

    @niwatpunta

    24 күн бұрын

    หากหล่อแบบเรซิ่นเพียวๆ ควรใช้เรซิ่นเกรด Flaxible resin เช่นเรซิ่นเบอร์ FG 208 หากเป็นตัวอื่นจะมีเพียงความแข็งอย่างเดียว ใช้งานจริงแตกหักได้ แต่ถ้าหล่องานแบบเสริมแรงด้วยใยแก้ว เช่นผสมใยแก้วเส้นสั้น(ใยผง) แนะนำเป็นเรซิ่นเกรดงานไฟเบอร์ เช่นเรซิ่นเบอร์ 2508 ครับ

  • @autogrand9054
    @autogrand90549 ай бұрын

    355E กิโลล่ะเท่าไหร่ครับ

  • @mkresinofficial5284

    @mkresinofficial5284

    8 ай бұрын

    เรซิ่น 355 E ( ชนิดยังไม่ผสมม่วง ) 1 กก. ราคา 155 บาท ค่ะ

  • @user-xy4bm2ii9p
    @user-xy4bm2ii9p8 ай бұрын

    เรซิ่น ยึดเกาะกับอะไรได้บ้างครับจารย์ เเละไม่ยึดเกาะกับอะไรบ้างครับ🙏

  • @niwatpunta

    @niwatpunta

    8 ай бұрын

    โดยปกติกเรซิ่นจะติดกับเรซิ่นเองเป็นหลักและไม่ค่อยติดกับวัสดุอื่น ยกเว้นไม้ที่เรซิ่นสามารถซึมเข้าในเนื้อไม้ได้บ้างครับ กับวัสดุอื่นเช่นเหล็ก หรือพลาสติกจะไม่ติดได้ การยึดติดผิวทั้งสองประเภทต้องใช้การรองพื้นด้วยอีพ๊อกซี่ไพรเมอร์ครับ ให้อีพ๊อกซี่เข้าไปยึดติดกับผิวงานโลหะหรือพลาสติกก่อนจึงเคลือบซ้ำด้วยเรซิ่นงานจึงจะยึดเกาะกันได้สนิทครับ

  • @user-xy4bm2ii9p

    @user-xy4bm2ii9p

    8 ай бұрын

    @@niwatpunta เ🙏

  • @user-xy4bm2ii9p

    @user-xy4bm2ii9p

    8 ай бұрын

    @@niwatpunta จารย์ทำคลิปลง ต ิคต็ อคเลยครับยอดวิวปังเเน่🙏

  • @pongnamhued7625
    @pongnamhued762510 ай бұрын

    จะหล่อเรือใช้เบอร์ไหนดีระหว่าง355กับ2508

  • @mkresinofficial5284

    @mkresinofficial5284

    10 ай бұрын

    แนะนำเป็นเรซิ่น 2508 ครับ การรับแรงอัดและแรงดัดดีมาก ปัญาการแตกร้าวเมื่อเจอคลื่นแรงๆไม่มี ใช้งานง่ายเพราะเป็นแบบพร้อมใช้งาน แต่ถ้าเป็นเรือไม้ที่ต้องกานหุ้มไฟเบอร์กลาส เป็นตัวไหนก็ได้ครับ แต่การใช้งานง่ายเหลวได้ที่ซึมใยแก้วเร็ว คนเคลือบเรือไม้ก็นิยม 2508 ครับ

  • @nopjunpen
    @nopjunpen11 ай бұрын

    เคยเจอปัญหาคือลงเจลโค๊ดรอจนเซ็ทตัวแล้วลงเรซิ่นตาม แต่เจลโค๊ดพองตัวทั้งทีรอจนเจลโค๊ดเซ็ทตัวแล้วครับ

  • @mkresinofficial5284

    @mkresinofficial5284

    11 ай бұрын

    สาเหตุ และการแก้ปัญหา เจลโค้ท ฟอง ย่น ร่อน แตกร้าว สาเหตุหลักๆได้แก่ 1 ปริมาณการผสมโมโน มากเกินไป เรซิ่นและเจลโค้ทจะค่อยๆคายโมโนส่วนเกินออกมา เมื่องานเกิดความร้อนไม่ว่าจะเป็นในกระบวรการหล่อตอนเคลือบใยแก้ว หรือแม้กระทั่งเมื่อชิ้นงานเสร็จแล้วมีความร้อนหรือตากแดด เมื่อความร้อนได้ที่ ( ประมาณ 50 °cขึ้นไป ) ผิวเจลโค้ท จะเกิดอาการ ร่อนแตกร้าว หรือมีอาการพองตามมาทันที การแก้ปัญหาคือเราต้องรู้ค่ามาตรฐานการผสมโมโนในเรซิ่นและเจลโค้ทก่อน สำหรับเรซิ่น ผสมโมโนได้ 5-10% และหากปริมาณเกิน 15%ขึ้นไปเรซิ่นจะคายโมโนส่วนเกินออกมา ส่วนเจลโค้ทชนิดที่มีเนื้อหนืดสูงหนืดคล้ายวาสลีน ผสมโมโนได้ ที่ 10-30% กรณีใช้กับการพ่นผสมโมโนได้ 30% หากเกิน 40% เจลโค้ทจะค่อยๆคายโมโนออกมา สำหรับกาพ่นเจลโค้ทนั้น จะต้องมีขนาดรูเข็มตั้งแต่ 2.5 มม.ขึ้นไป มีไม่น้อยครับที่ใช้กาพ่นขนาด 1.8-2.0 มม. พ่นแล้วต้องผสมโมโนเกิน 40% จึงจะพ่นได้ ซึ่งกาพ่นแบบนี้เป็นกาพ่นที่มีขนาดรูเข็มที่ไม่เหมาะกับการพ่นเจลโค้ท ดังนั้นในส่วนของกาพ่นเจลจะต้องมีขนาดรูเข็มที่ใหญ่ได้ที่เท่านั้น เนื่องจากเจลโค้ทมีความหนืดสูงนั่นเอง ส่วนเจลโค้ทแบบพร้อมใช้งานไม่ควรผสมโมโนเพิ่ม หรือหากต้องการเพิ่มความเหลว ควรผสมโมโนไม่เกิน 5% จะเป็นการดีที่สุด 2 ผิวเจลโค้ทเซทตัวไม่ดี เช่นเซทตัวช้าผิวนิ่มไปพอเคลือบใยแก้วแล้วผิวเป็นคลื่น ย่น ฟอง เมื่อชั้นเคลือบใยแก้วมีความหนาและร้อน หรือบางกรณี เซทตัวเร็วไปผิวเจลเปราะสูงแตกร้าวได้ง่าย สาเหตุปัญหามักเกิดจากอัตราการผสมที่ไม่เหมาะสม การผสมแบบใช้การประมาณการ ไม่มีการชั่งตวง อัตราผสมในการใช้งาน การแก้ปัญหานั้น ควรใช้ระบบการชั่งตวงที่ได้มาตรฐาน ตรวจวัดปริมาณการผสมได้ สำหรับเจลโค้ทแบบทั่วไปที่ยังไม่ผสมม่วงมาในตัว อัตราผสมคือ เจลโค้ท 100 ส่วน ผสม ม่วงอัตรา 0.1-0.15% ผสม โมโน 10-30% ผสมสี 5-10% ผสมตัวเร่ง 1-2%(แนะนำสูงสุดที่ 1.5%) เวลาเจลไทม์ที่เหมาะสมคือ 20 -30 นาที ทิ้งไว้ 30-60 นาทีเคลือบซ้ำได้ ให้ใช้เวลาเจลไทม์เป็นจุดหลักได้ และเจลโค้ทแบบพร้อมใช้ ผสมตัวเร่งอัตรา 1-2% (แนะนำสูงสุดที่ 1.5%) และไม่ควรผสมโมโนเพิ่ม หรือให้ใช้เวลาเจลไทม์เป็นตัวกำหนดเบื้องต้นได้เลย 3 ความหนาของผิวเจล ปัญหาส่วนใหญ่ได้แก่ ผิวเจลบางมาก(หนาไม่ถึง 0.5 มม.) แล้วเคลือบใยแก้วหนาเมื่อเกิดความร้อน ผิวปิดเป็นคลื่นบ้างฟองบ้าง หรือปัญหาผิวเจลหนา ลงเจลแค่รอบเดียวหรือสองรอบหนาๆ ผิวเจลอาจเซทตัวไม่สมบูรณ์แบบ ทำให้ผิวเจล ย่น เป็นตามด บิดเป็นคลื่น ส่วนใหญ่มักมีต้นตอตั้งแต่อัตราการผสม จนถึงขนาดความหนาในแต่ละขั้น การแก้ปัญหานั้นให้เริมต้นจากการผสมที่ถูกต้องก่อน หลังจากนั้นก็ทำความหนาให้ได้มาตรฐาน สำหรับงานที่เป็นชิ้นงานพร้อมใช้หรือจำหน่าย ความหนาของผิวเจลโค้ทจะอยู่ที่ 0.5-0.6 มม. หรือลงเจล 4-5 รอบ แต่ละรอบควรหนาประมาณ 0.127 -0.13 มม. หากหนามากจะเกิดปัญหาฟองอากาศในเนื้อมีปริมาณมากผิวงานเป็นจุดตามดเล็กๆ( pin hole )ปริมาณมาก ส่วนความหนาผิวเจลงานแม่แบบ(ผิวโมลด์) นั้นจะอยู่ที่ 0.5-2 มม. ทั่วไปนิยมความหนาที่ 1 มม. หรือลงเจล 9-10 รอบ เช่นเดียวกันหากลงชั้นละหนาๆก็จะเกิดปัญหาผิวเป็นจุดตามด ทั้งสามข้อเป็นข้อที่มักเป็นปัญหาของการทำผิวเจงโค้ท ดั้งนั้นหากเราควบคุมปริมาณการผสมโมโน ควบคุมอัตราผสมและความหนาให้ได้มาตรฐานปัญหาเหล่านี้ก็จะหมดไปครับ ลองสำรวจและตรวจเช็คขั้นตอนการทำงานให้ดีเราก็จะพบวิธีจัดการปัญหา

  • @user-gf6yh8bs6n
    @user-gf6yh8bs6n10 ай бұрын

    ถ้าต้องโป้วแดงตัวไหนขัดง่ายกว่ากีนค่ะ

  • @mkresinofficial5284

    @mkresinofficial5284

    10 ай бұрын

    355 จะขัดได้ง่ายกว่า มีค่าเนื้อเรซิ้นที่ดีและสูงกว่า เหมาะกับงานทำผิวหน้างาน และ ผิวงานโป้วครับ ☺

  • @autogrand9054
    @autogrand90548 ай бұрын

    เรซิ่นกับอีกฟอกซี่ยืดเกาะกันไหมครับ

  • @niwatpunta

    @niwatpunta

    8 ай бұрын

    ยึดเกาะครับ แต่ต้องให้ผิวงานตัวที่ต้องถูกทาทับแห้งสนิท และขัดเปิดผิวด้วยกระดาษทราย เพื่อให้ตัวที่เคลือบทับติดกับผิวในครับ

Келесі