“พ้นทุกข์หรือยอมทุกข์ : ปรัชญาพุทธกับขงจื้อ”

การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “ศาสนาและวัฒนธรรมความเชื่อของชาวจีนโพ้นทะเล”
เรื่อง “พ้นทุกข์หรือยอมทุกข์ : ปรัชญาพุทธกับขงจื้อ”
โดย ศาสตราจารย์ ดร. สุวรรณา สถาอานันท์
ในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2560
ณ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
จัดโดย ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ร่วมกับ
สมาคมเผยแผ่คุณธรรม"เต็กก่า"จีจินเกาะ

Пікірлер: 6

  • @WiKo-rx9is
    @WiKo-rx9is20 күн бұрын

    ยอดๆๆครับ

  • @user-mg5fp4ks9x
    @user-mg5fp4ks9x2 жыл бұрын

    โยมอาจารย์ได้พูดด้วยความเหมาะสมแล้วว่า จุดร่วมของทั้งสองปรัชญาชีวิต แนวพุทธและของจื้อ แนวร่วมนั้นคือ ความทุกข์ที่เกิดขึ้น จึงเกิดการเสาะแสวงหาที่จะพ้นทุกข์ อาตมาคิดว่า ทุกศาสนา ก็มีแนวร่วมอันเดียวกันนี้ สาธุ

  • @user-bs8tg3qt9h
    @user-bs8tg3qt9h5 жыл бұрын

    ชอบมาก ขอขอบพระคุณ

  • @hellomobile4986
    @hellomobile498610 ай бұрын

    ความมีจริง เป็นจริง จักรวาล/ในจักวาล "โดยปรมัตถ์" มี ธาตุ รูป ธาตุนาม ในความว่าง แสง สี กล่น รส โอชะ เป็น คลื่น และ อนุภาค ต่อมา เกิด "การสังขาร" เป็น สรรพสิ่ง เป็น สิ่งชั่วคราว(ต้องตาย ทำลายสภาพ กลับคืืนเป็น ธาตุ อนุภค/คลื่น) สภาพ ธรรมชาติ รูป/นาม แบ่งเป็น ๕ นิยาม อุตุ พีช จิต กรรม ธรรม (นิยาม) พีชนิยาม มี สัตว์ และ พืช ส่วนเป็น นาม/พลังงาน สัตว์ มี อากาศธาตุ+วิญญาณธาตุ (เป็นขันธ์) พืช ไม่มี วิญญาณธาตุ อุตุ นิยาม เป็นพวก เคมี/ฟิสิกส์ นาม คือ ไฟฟ้า/ควันตัม พลังดึงดูด/เกาะเกี่ยว/แรงโน้มถ่วง ?

Келесі