เผย "ทุเรียน" มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา

Ойын-сауық

ที่มาและข้อมูลจาก : เพจ เกร็ดประวัติศาสตร์
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ / เล่มที่ ๒๘ / เรื่องที่ ๔ ทุเรียน / ประวัติของทุเรียนในประเทศไทย
อ้างอิงภาพจาก : Siam, Thailand & Bangkok Old Photo Thread/178
มีการปลูกทุเรียนในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งแต่สมัยอยุธยา ส่วนจะเข้ามาจากที่ไหน และโดยวิธีใด ไม่ปรากฏหลักฐาน แต่ น่าเชื่อถือได้ว่า เป็นการนำมาจากภาคใต้ของประเทศไทยนั่นเอง และมีการปรับปรุงพันธุ์อย่างสม่ำเสมอตลอดมา โดยระบบของสังคมไทย เช่น การนิยมเอาผลไม้ดีที่สุดถวายพระ หรือเป็นของกำนัลเจ้านาย รวมทั้งระบบของรัฐ เช่น การเก็บอากรเกี่ยวกับต้นผลไม้ เป็นการส่งเสริมแกมบังคับ ให้ทุกคนต้องปรับปรุงพืชผลของตนเอง ส่งผลให้เมืองไทยมีพันธุ์ไม้ผลดีๆ หลากหลายชนิด มาจนถึงสมัยปัจจุบัน แสดงให้เห็นว่า งานปรับปรุงพันธุ์ไม้ผลของประเทศไทยโดยชาวบ้าน ได้เริ่มตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นต้นมา และเป็นมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษสู่ชนรุ่นปัจจุบัน
#อย่าลืม# กด Like กดแชร์ กดติดตาม เปิดกระดิ่งแจ้งเตือน เพื่อเป็นกำลังใจให้กับเรา และรับชมคลิปความบันเทิงใหม่ๆ ได้ก่อนใคร
Channel : Loser Studio
/ @loser_studio.

Пікірлер: 8

  • @suratintarasaaat1444
    @suratintarasaaat14443 жыл бұрын

    ไม่ใช้เป็นของประเทศอินโดหลอแต่ทำใมเอามาเป็นของปรเเทศไทยละ

  • @thailandoffsmile

    @thailandoffsmile

    Жыл бұрын

    อินโดนีเซียอะไรอีก? 😂😂 ประวัติทุเรียนไทย หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ (เล่มที่ 28 เรื่องที่ 4 ทุเรียน ) กล่าวว่า ลาลูแบร์ นักบวชนิกายเยซูอิต และหัวหน้าคณะราชทูตที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 รับสั่งให้เดินทางมากรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2230 ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับผู้คน, สังคม และสิ่งแวดล้อมของเมืองไทย ภายหลังบันทึกนี้ตีพิมพ์ในกรุงปารีส (พ.ศ. 2336) โดยเนื้อหาตอนหนึ่งกล่าวถึง “ทุเรียน” จากหลักฐานดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า มีการปลูกทุเรียนในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งแต่สมัยอยุธยา แต่ทุเรียนจะเข้ามาจากที่ไหน และโดยวิธีใด ไม่ปรากฏหลักฐาน หากมีผู้สันนิษฐานว่า เป็นการนำมาจากภาคใต้ของประเทศไทยนั่นเอง และที่มีน้ำหนักมากขึ้นเพราะช่วงที่มาตั้งเมืองหลวงใหม่ สมัยรัตนโกสินทร์ มีการจดบันทึกชัดเจนจาก พระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) ได้กล่าวถึงการแพร่กระจายพันธุ์ของทุเรียน จากจังหวัดนครศรีธรรมราช มายังกรุงเทพฯ ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๓๑๘ และมีการทำสวนทุเรียนในตำบลบางกร่าง ในคลองบางกอกน้อยตอนใน มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๙๗ ในระยะต้น เป็นการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด และพัฒนามาเป็นการปลูกด้วยกิ่งตอน จากพันธุ์ดี ๓ พันธุ์ คือ อีบาตร ทองสุก และการะเกด เพราะถ้าไม่เคยเอาทุเรียนจากภาคใต้ไปปลูกในสมัยอยุธยาทำไมพอย้ายเมืองหลวงใหม่กลับนำทุเรียนจากทางนครศรีธรรมราชไปปลูกในพื้นที่กรุงเทพ แสดงว่าในสมัยอยุธยาก็ได้นำทุเรียนจากทางนครศรีธรรมราชไปปลูกมาแล้วครั้งนึงนั้นเอง และพระยาแพทย์พงศาธิบวิสุทธาธิบดี นี่เองที่เป็นบุคคลแรกที่นำทุเรียนจากกรุงเทพไปปลูกที่จันทบุรี ผลไม้ทุเรียนมีในพื้นที่คาบสมุทรสยาม-มลายู และอินโดนีเซียเท่านั้น แต่ทุเรียนของไทยนำมาจากภาคใต้ทั้งนั้น รวมถึงมังคุด เงาะ ลองกอง ก็เป็นผลไม้พื้นถิ่นที่มีทางภาคใต้อยู่แล้ว แล้วทำไมถึงคิดว่าเอามาจากทางอินโดนีเซีย มีข้อมูลมั้ย? ภาคใต้มีทุเรียนสายพันธุ์พื้นบ้านอยู่เลย และมีหลายสายพันธุ์ ภาคใต้เรียกทุเรียนบ้าน แต่ภาคอื่นไม่มีแน่นอน เพราะนำทุเรียนที่ขยายสายพันธุ์ไปปลูกทั้งนั้น

  • @user-pz8ju1pj2i
    @user-pz8ju1pj2i Жыл бұрын

    ทุเรียนเป็นพืชพื้นเมืองของบรูไน อินโดนีเซีย และมาเลเซีย และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกมาประมาณ 600 ปีมาแล้ว ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ ได้พรรณนาถึงทุเรียนว่า "เนื้อในมันเหมือนคัสตาร์ดอย่างมาก รสชาติคล้ายอาลมอนด์" เนื้อในของทุเรียนกินได้หลากหลายไม่ว่าจะห่าม หรือสุกงอม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการนำทุเรียนมาทำอาหารได้หลายอย่าง ทั้งเป็นอาหารคาวและอาหารหวาน แม้แต่เมล็ดก็ยังรับประทานได้เมื่อทำให้สุก ทุเรียนมีมากกว่า 30 ชนิด มีอย่างน้อย 9 ชนิดที่รับประทานได้ แต่มีเพียง Durio zibethinus เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่ได้รับความนิยมทั่วโลก จนมีตลาดเป็นสากล ในขณะทุเรียนชนิดที่เหลือมีขายแค่ในท้องถิ่นเท่านั้น ทุเรียนมีสายพันธุ์ประมาณ 100 สายพันธุ์ให้ผู้บริโภคเลือกรับประทาน นอกจากนี้ยังมีราคาสูงอีกด้วย ส่วนในประเทศไทยพบทุเรียนอยู่ 5 ชนิด

  • @user-pz8ju1pj2i

    @user-pz8ju1pj2i

    Жыл бұрын

    ทุเรียนเอามาจากภาคใต้ ภาคใต้นำมาจากมาเลเซียและอินโดนิเซีย เค้าให้ต่อๆกันมาเพราะเป็นอิสลามด้วยกัน

  • @thailandoffsmile

    @thailandoffsmile

    11 ай бұрын

    ทุเรียนเป็นผลไม้พื้นถิ่นที่ขึ้นตามป่าเขาบนคาบสมุทรสยามอยู่แล้ว อย่ามั่วว่าไทยไม่มี ไหนข้อแหล่งที่มาด้วย ถ้าไทยภาคอื่นไม่มีแน่แต่ทางภาคใต้มีแน่นอน ยังมีทุเรียนสายพันธุ์พื้นบ้านหลายๆสายพันธุ์ให้ได้เห็นทุกพื้นที่อยู่เลย จะมาบอกทุเรียนบนคาบสมุทรแต่มีเฉพาะฝั่งมาเลเซียเท่านั้นภาคใต้ของไทยที่อยู่บนคาบสมุทรไม่มีนี่ตลกแห้งแล้ว 😂😂 ประวัติทุเรียนไทย หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ (เล่มที่ 28 เรื่องที่ 4 ทุเรียน ) กล่าวว่า ลาลูแบร์ นักบวชนิกายเยซูอิต และหัวหน้าคณะราชทูตที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 รับสั่งให้เดินทางมากรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2230 ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับผู้คน, สังคม และสิ่งแวดล้อมของเมืองไทย ภายหลังบันทึกนี้ตีพิมพ์ในกรุงปารีส (พ.ศ. 2336) โดยเนื้อหาตอนหนึ่งกล่าวถึง “ทุเรียน” จากหลักฐานดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า มีการปลูกทุเรียนในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งแต่สมัยอยุธยา แต่ทุเรียนจะเข้ามาจากที่ไหน และโดยวิธีใด ไม่ปรากฏหลักฐาน หากมีผู้สันนิษฐานว่า เป็นการนำมาจากภาคใต้ของประเทศไทยนั่นเอง และที่มีน้ำหนักมากขึ้นเพราะช่วงที่มาตั้งเมืองหลวงใหม่ สมัยรัตนโกสินทร์ มีการจดบันทึกชัดเจนจาก พระยาแพทย์พงศาวิสุทธาธิบดี (สุ่น สุนทรเวช) ได้กล่าวถึงการแพร่กระจายพันธุ์ของทุเรียน จากจังหวัดนครศรีธรรมราช มายังกรุงเทพฯ ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. ๒๓๑๘ และมีการทำสวนทุเรียนในตำบลบางกร่าง ในคลองบางกอกน้อยตอนใน มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๙๗ ในระยะต้น เป็นการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด และพัฒนามาเป็นการปลูกด้วยกิ่งตอน จากพันธุ์ดี ๓ พันธุ์ คือ อีบาตร ทองสุก และการะเกด เพราะถ้าไม่เคยเอาทุเรียนจากภาคใต้ไปปลูกในสมัยอยุธยาทำไมพอย้ายเมืองหลวงใหม่กลับนำทุเรียนจากทางนครศรีธรรมราชไปปลูกในพื้นที่กรุงเทพ แสดงว่าในสมัยอยุธยาก็ได้นำทุเรียนจากทางนครศรีธรรมราชไปปลูกมาแล้วครั้งนึงนั้นเอง และพระยาแพทย์พงศาธิบวิสุทธาธิบดี นี่เองที่เป็นบุคคลแรกที่นำทุเรียนจากกรุงเทพไปปลูกที่จันทบุรี ผลไม้ทุเรียนมีในพื้นที่คาบสมุทรสยาม และอินโดนีเซียเท่านั้น แต่ทุเรียนของไทยนำมาจากภาคใต้ทั้งนั้น รวมถึงมังคุด เงาะ ลองกอง ก็เป็นผลไม้พื้นถิ่นที่มีทางภาคใต้อยู่แล้ว ภาคใต้มีทุเรียนสายพันธุ์พื้นบ้านอยู่เลย และมีหลายสายพันธุ์ ภาคใต้เรียกทุเรียนบ้าน แต่ภาคอื่นไม่มีแน่นอน เพราะนำทุเรียนที่ขยายสายพันธุ์จากภาคใต้ไปปลูกทั้งนั้น ที่เรียกว่าคาบสมุทรสยามเพราะในอดีตไม่เคยเรียกว่าคาบสมุทรมลายูมาก่อน คาบสมุทรมลายูเพิ่งมามีตอนอังกฤษเข้ามายึดมาเลเซียเป็นอาณานิคมและพยามล่าอาณานิคมทางความคิดแก่สยามว่าคาบสมุทรนี้เป็นของชาติพันธุ์มลายู ซึ่งโคตรมั่วสุดๆ ถึงบอกว่าเมื่อย้อนไปในอาณาจักรโบราณบนดินแดนนี้ไม่เคยมีหลักฐานอะไรเกี่ยวกับคนมลายูให้ได้เห็นมาก่อนเลย มีแต่แขกทมิฬทั้งนั้น มลายูเพิ่งมาพบร่องรอยในยุคอาณาจักรมัชปาหิตแพร่ขยายอิทธิพลขึ้นมาบนคาบสมุทรสยามนี่เอง นำคนมลายูบนเกาะชวาตะวันออกเข้ามาอาศัย และคำว่าเมอลายู (Melayu) มาจากภาษาตมิฬว่า มไลยูร (LD6yj/Malaiyur) ซึ่งมาจากคำในภาษาตมิฬสองคำ คือ มไล อันมีความหมายถึง ภูเขา (Mountain) และ อูร ซึ่งมีความหมายถึงเมือง,หมู่บ้าน,ภูมิภาค,ภูมิลำเนา หรือ ถิ่นที่อยู่อาศัย(City, Village,Country, native land) รวมถึง การสัญจร หรือการขับเคลื่อนไปอย่างช้าๆ การคลาน,การวิ่ง หรือ ไหลไปดั่งสายน้ำ และ ไหลไปดั่งกระแสโลหิตโลหิตในเส้นโลหิต ซึ่งในส่วนนี้จะไปสอดคล้องกับ มลายูภาษาชวา ดังนั้น มไลยูร (Malaiyur) จึงมีความหมายว่าเมือง หรือ อาณาจักรแห่งขุนเขา เพราะในอดีตเคยโดยอาณาจักรของชาวทมิฬทางภาคใต้ (ศรีวิชัย)ที่ขยายอิทธิพลไปปกครอง หลักฐานเกี่ยวกับชาวทมิฬที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยทางภาคใต้มีมาตั้งแต่ยุคสุวรรณภูมิแล้ว ส่วนเรื่องทุเรียนนี่มั่วสุดๆ แหล่งข้อมูลที่คัดลอกมาก็ไม่มีหลักฐานใดๆนอกจากเดาไปเอง ทุเรียนมีบนคาบสมุทรแต่เลือกคิดว่ามีแค่ฝั่งประเทศมาเลเซีย ไม่ให้ฟังดูตลกนี่คงไม่ได้ ภาคใต้ยังมีทุเรียนสายพันธุ์พื้นบ้านขึ้นตามป่าเขาอยู่เลย

  • @thailandoffsmile

    @thailandoffsmile

    11 ай бұрын

    ​​​​​​@@user-pz8ju1pj2i เค้าให้ต่อๆกันมา เพราะอิสลามด้วยกัน ตรรกะโคตรไม่ต้องอ้างอิงหลักฐานใดๆเลยคือกูจะเชื่อและมั่วนิ่มเอาง่ายๆแบบนี้ว่างั้น เออ... ภาคใต้ไทยพุทธมากกว่าไทยมุสลิมนะ และภาคใต้มีทุเรียนสายพันธุ์พื้นบ้านทุกพื้นที่ไม่ใช่แค่พื้นที่ที่มีชาวมุสลิมอยู่อาศัย และมันอยู่ตามป่าเขา อย่ามาให้ข้อมูลไปเรื่อยเปื่อยโดยไม่มีข้อมูลใดๆมาอ้างอิงเลย ให้ต่อๆกันมา ถถถถถถ 😂😂😂 นี่ๆไปเอาความมั่นใจมาจากไหนถึงกล้าให้ข้อมูลแบบนี้ มีบันทึกมั้ยว่าให้ต่อๆกันมา ตอนให้นี่เค้าเปิดพิธีตัดริบบิ้นดูดปากกันด้วยมั้ย มลายูนี่มลายูจริงๆ เคลมเหมือนเขมรเลย นี่ถ้าไม่มีบันทึกประวัติศาสตร์มลายูและจารึกบนเกาะสุมาตราว่าศรีวิชัยมาจากที่อื่นหรือมาตีและปกครองมลายูพฤติกรรมแบบนี้คงจะเคลมอาณาจักรศรีวิชัยเป็นอาณาจักรของคนมลายูอีกเป็นแน่แท้ อาณาจักรลังกาสุกะที่มีอาณาเขตพื้นที่ ปัตตานี ยะลา ไทรบุรี นี่อาณาจักรของมลายูอีกด้วยมั้ย เอาหลักฐานทางโบราณคดีมาอ้างอิงหน่อย ทำไมเจอแต่ ศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์และพุทธ จารึกภาษาปัลลวะอินเดียโบราณและภาษาสันสกฤตทั้งนั้น ไม่เห็นเจออักษรมลายูในพื้นที่นี่เหล่านี้ที่แสดงว่าเป็นพื้นที่ของชาวมลายูเลย บ่งบอกอย่างเด่นชัดเจนว่าดินแดนอาณาจักรโบราณเหล่านี้คือคนอินเดียใต้ หรือทมิฬ คนที่มีเชื้อสายมลายูเพิ่งเข้ามาบนคาบสมุทรสยามในช่วงอาณาจักรมัชปาหิต(อาณาจักรในชวาตะวันออก) แพร่ขยายอำนาจเข้ามาในปี พ.ศ. 1893 - 1932 นี่เอง แล้วจะส่งต่อทุเรียนกันมาเป็นทอดๆเพราะเป็นมุสลิมด้วยกัน จะเอาฮาไปถึงไหน แม้แต่สุลต่านสุลัยมาน ชาห์ ที่เป็นบุตรชายคนโตของดาโต๊ะโมกอล ก็เพิ่งอพยพครอบครัวและพลเรือนจากเมืองสาเลห์(ชวาภาคกลาง)โดยทางเรือมาตั้งหมู่บ้านที่ตำบลหัวเขาแดง ริมทะเลปากอ่าวสงขลา ในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ ในประมาณปีพ.ศ. 2145 นี่เอง นี่เป็นคนมลายูเหรอ นึกว่าคนเขมร เคลมเก่งจริงๆ แล้วคนมลายูไม่ได้ปลูกทุเรียนส่งออกมากเหมือนคนไทย มีส่งออกคิดเป็นสัดส่วนเท่าไหร่เอง ทั้งอินโดนีเซียและมาเลเซียส่งออกทุเรียนน้อยกว่าไทยอีก เพิ่งหัดขยายสายพันธุ์ทุเรียนเป็นไม่กี่ปีนี่เอง บางครั้งก็มั่นใจเกิน สงสัยเมาน้ำท่อม 😂😂😂

  • @suratintarasaaat1444
    @suratintarasaaat14443 жыл бұрын

    ไม่ใช้เป็นของประเทศอินโดหลอแต่ทำใมเอามาเป็นของปรเเทศไทยละ

  • @suratintarasaaat1444
    @suratintarasaaat14443 жыл бұрын

    ไม่ใช้เป็นของประเทศอินโดหลอแต่ทำใมเอามาเป็นของปรเเทศไทยละ

Келесі