มหา’ลัยยังจำเป็น ? ธรรมศาสตร์ 88 ปี มีแต่ประวัติศาสตร์ แต่ไม่มีอนาคต…จริงหรือ ?

มหา’ลัยยังจำเป็น ? ธรรมศาสตร์ 88 ปี มีแต่ประวัติศาสตร์ แต่ไม่มีอนาคต…จริงหรือ ?
เมื่อมหาวิทยาลัยอาจไม่จำเป็นอีกต่อไป ‘ธรรมศาสตร์’ จะเหลือแค่ ‘ประวัติศาสตร์’ หรือไม่ ?
ในยุคที่มหาวิทยาลัยกำลังถูกดิสรัปต์ จากโลกแห่งการเรียนรู้ ที่ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในรั้วมหาวิทยาลัย
ทำให้หลายคนตั้งคำถามว่า มหาวิทยาลัยยังจำเป็นอยู่หรือไม่
มาร่วมหาคำตอบ พร้อมเปิดโลกการศึกษาแห่งอนาคตไปด้วยกัน
ผ่านมุมมองของ รศ.ดร.พิภพ อุดร รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ที่จะมาฉายภาพอนาคตการศึกษา พร้อมเฉลยถึงภารกิจทลายกำแพงมหาวิทยาลัยแบบเดิม ๆ ของธรรมศาสตร์ ที่มีประวัติศาสตร์มานานกว่า 88 ปี
แล้วทิศทางของโลกการศึกษาทุกวันนี้ กำลังเบนเข็มไปทางไหน ?
‘‘อนาคต’ ของธรรมศาสตร์จะเป็นอย่างไร ไปหาคำตอบพร้อมกัน..
ลงทุนแมน ลงทุนในความรู้
การลงทุนในความรู้ไม่มีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรกด ”Subscribe” ลงทุนแมนไว้ในทุกช่องทาง
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - www.longtunman.com
Blockdit - www.blockdit.com/longtunman
Facebook -​ / longtunman
Twitter - / longtunman
Instagram - longtunman...
Line - page.line.me/ayw2996y
KZread - / longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn...
Soundcloud - / longtunman​
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast
Clubhouse - @longtunman
#ลงทุนแมน​​ #ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง​ #ธรรมศาสตร์ #THEBRIEFCASE​ #longtunman​ #ลงทุนแมนORIGINALS​ #ธรรมศาสตร์ #ประวัติศาสตร์ #โลกแห่งการเรียนรู้ ‪@Longtunman‬

Пікірлер: 222

  • @arhusdk2916
    @arhusdk2916 Жыл бұрын

    ผมไม่รู้ว่าการศึกษาสายอื่นมีมุมมองอย่างไร แต่ผมเองจบสายวิทยาศตร์มามองว่าการศึกษาในมหาวิทยาลัยนั้นสำคัญ โดยเฉพาะสายวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การศึกษาที่มันจำเป็นต้องมีการปฏิบัติการ มีการทดลอง ต้องใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ สิ่งเหล่านี้มันต้องลงมือปฏิบัติ มันไม่สามารถเรียนรู้จากเน็ตได้อย่างเดียว

  • @YHUFANG

    @YHUFANG

    Жыл бұрын

    เห็นด้วยค่ะ

  • @vaewvaew6047

    @vaewvaew6047

    Жыл бұрын

    จริงครับ ดู กับ ลงมือทำเอง มันคนละเรื่องกัน, อีกหน่อยวิชา lecture อาจจะเรียนออนไลน์ได้ แต่ วิชา Lab ยังไงก็ต้องลงมือทำเองจึงจะเป็นครับ, เทกรดเข้มข้นใส่น้ำ กับ เทน้ำใส่กรดเข้มข้น ผลที่ได้ ไม่เหมือนกัน

  • @mameawize

    @mameawize

    Жыл бұрын

    ส่วนตัวเรียนเกี่ยวกับ healthcare เช่นกันค่ะ มองว่าจำเป็นที่ต้องเรียน campus มากๆ

  • @pauleagle6281

    @pauleagle6281

    Жыл бұрын

    อะหา ไปรักษากับหมอจบออนไลน์เหรอ ผมไม่เอาหรอก

  • @MuanSuenHoSaew

    @MuanSuenHoSaew

    Жыл бұрын

    เห็นด้วยค่ะ สายวิทยาศาสตร์ต่างๆ การแพทย์ การพยาบาล คงจำเป็นที่จะต้องมีการเรียนในมหาวิทยาลัย

  • @dc1n1001
    @dc1n1001 Жыл бұрын

    เอาจริงๆพูดจากตัว นศ ปี4ใกล้จบ ที่ผ่านทั้งเรียนonline กับ Onsite ผมว่าบางวิชา บางคณะเนี้ยสามารถที่จะไม่ต้องเข้าไปเรียนในมหาลัยก็ได้ หรือเข้าไปเป็นบางคาบไปส่งงาน ไปสอบ เพราะจากประบสบการณ์เรียน online ผมกล้าพูดเลยว่าสุขภาพกาย สุขภาพจิตผมดีขึ้นมาก หัวเเล่น มีเวลาไปเรียนรู้นอกห้องเรียน ไม่ต้องไปกังวลว่าพน.จะไปเรียนยังไง ฝนตกไหม ออกกี่โมง ตื่นกี่โมง ผมเลยอยากจะเป็นกระบอกเสียงตรงนี้ครับ

  • @victorjacques5201

    @victorjacques5201

    Жыл бұрын

    จริงเลยครับ โดยเฉพาะสายสังคมที่เน้น lecture เป็นหลักนี่ไม่รู้เหมือนกันว่าทำไมถึงจำเป็นต้องมาเรียนที่ ม. ทั้งที่เทคโนโลยีมันก็พัฒนามาไกลแล้ว ที่ ม.ปิดดังๆ ส่วนใหญ่ไม่ยอมเปลี่ยนน่าจะกลัวสังคมล้อเลียนว่าเป็น ม.ดัง แต่สามารถเรียนจนจบทางออนไลน์ได้ ไม่สมศักดิ์ศรีมหาลัยเก่าแก่ล่ะมั้ง ทั้งที่ความเป็นจริงแล้วการเรียนให้จบมันก็ยากพอๆ กันไม่ว่าออนไลน์หรือออนไซต์ 555

  • @dontreekhrutdilakanan8548

    @dontreekhrutdilakanan8548

    Жыл бұрын

    เขาเชคชื่อเรียนหรือครับ มหาลัยผมไม่เช็คชื่อน๊ะ. อยากโดดไม่มีใครว่าหรอก

  • @maniapersea7390

    @maniapersea7390

    Жыл бұрын

    มันคือ ธุรกิจการศึกษา ยังไงก็ต้องยัดเหยียดให้เรียนมากมาย มันคือ รายได้ ครับ ไม่ว่า ค่าหน่วยกิต หนังสือเรียน ชุดนักเรียน เป็นต้น แต่เรียนมากมาย ก็ไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย เสียเวลาไปกับสิ่งที่ใช้ไม่ได้จริงๆ มันต้องทำแบบที่ชาติพัฒนาแล้ว ที่เขาทำกัน อย่างเช่นสิงคโปร์ ฟินแลนด์ สหรัฐ คือ เน้นเฉพาะทางไปเลย ไม่ต้องเรียนแบบจับฉ่ายครับ คือ เขาจะให้เรียนจนเป็นมือโปรด้านต่างๆไปเลย

  • @user-hv2mu6zp6c

    @user-hv2mu6zp6c

    Жыл бұрын

    55555+++ ....สุขภาพจิตดี อันนี้ เราก็ประสบมา ....นอกห้องเรียน เราเรียนเมื่อพร้อม และ เงื่อนไขตัวแปร ที่อาจ "ติดลบ" จากอาจารย์ก็ตาม จากเพื่อนร่วมห้องก็ตาม >>> หายหมด

  • @justlikeyou5951

    @justlikeyou5951

    Жыл бұрын

    จริงคะ

  • @jero5662
    @jero5662 Жыл бұрын

    มีอาจารย์อเมริกันท่านหนึ่งเอาจดหมายการขอดูงานของอาจารย์ไทยมาให้เเล้วถามว่า วัตถุประสงค์คือขอดูงาน เเต่ไม่ได้มาขอดูวิธีคิดเเละการเเก้ปัญหา ทีมงาน เป้าของงานเเละสปิริต มหาวิทยาลัยคือองค์ความรู้ของคน คนสร้างงาน ในงานมีผลผลิตมากมาย เหมือนการบรรยาย ในสหรัฐยังใช้กระดานเเละชอร์คเพราะต้องเขียนไปด้วย พาวเวอร์พอยน์เอาไว้เเค่นำเสนอ เเต่เมืองไทยใช้การนำเสนอด้วยพาวเวอร์พอยน์ว่าทันสมัย ขณะที่อาจารย์กำลังเขียนบนกระดานนศ ตะโกนพูดว่าหยุด มันผิดจากจุดที่พูดไป อาจารย์ตอบว่าเก่งมาก เขากำลังพูดในสิ่งที่ไม่มีในตำราเรียน เเละชมนศ คนนั้น มหาวิทยาลัยมีชีวิตด้วย wisdom universal ของตัวมันเอง

  • @kotchapp
    @kotchapp Жыл бұрын

    อย่างไรก็ตามหลายวิชาชีพยังต้องการบัณฑิตที่จบมามีความรู้เฉพาะทางที่เชี่ยวชาญค่ะ พวกสายวิชาชีพทั่วไปที่สามารถนำมาปรับเปลี่ยนได้ต่อไปก็กลายเป็นอาชีพที่เฟ้อและล้นตลาด สุดท้ายก็ดับไปค่ะ อย่างไงการศึกษาก็สำคัญค่ะ แค่สถาบันอุดมศึกษาต้องปรับเปลี่ยนวิชาสอนให้ตามความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ นวัตกรรม เทคโนโลยี และสังคมค่ะ รวมทั้งบุคลากรอาจารย์ด้วยค่ะ

  • @mr.phongsornphacharathanac6474
    @mr.phongsornphacharathanac6474 Жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับสำหรับข้อมูล

  • @theSis.SistaSoulSchool
    @theSis.SistaSoulSchool Жыл бұрын

    ดีงาม...แม่จะเรียนอีก เตรียมวิถีให้ลูกต่อ...❤️❤️❤️ รุ่นแม่เสียเวลาชีวิตมากๆ กว่าจะได้ปริญญา

  • @user-di7dc9ei4u
    @user-di7dc9ei4u Жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ

  • @hanibaheyi4303
    @hanibaheyi4303 Жыл бұрын

    คลิปเนียนมากๆ เลยค่ะ กราบคารวะในทักษะ digital marketing ของคนคิดสคริปต์เลยค่ะ

  • @XcstasyJaa
    @XcstasyJaa Жыл бұрын

    สายแพทย์ วิศวะ วิทยาศาสตร์ ยังไงก็ต้องมีเรียนที่แคมปัสอยู่ดี

  • @SSS-wl5kh

    @SSS-wl5kh

    Жыл бұрын

    เรียนแบบ Hybrid

  • @marfionett7599

    @marfionett7599

    Жыл бұрын

    ตอบในฐานะที่จบวิศวะนะครับว่า ไม่จำเป็น

  • @andyl9976

    @andyl9976

    Жыл бұрын

    นายจ้างอยากได้ หมาพันธ์ดี เท่านั้นครับ ใบปริญญา คือข้อพิสูจน์ ถึงความสามารถในการเรียนรู้ระดับหนึ่ง

  • @user-oq2nd2wj3v

    @user-oq2nd2wj3v

    Жыл бұрын

    จบหมอรักษาคนไม่ได้ก็มี

  • @tiga.studio

    @tiga.studio

    Жыл бұрын

    สายวิศวะ คอมไม่จำเป็นนะครับ

  • @kaamutsupsungkaksem9181
    @kaamutsupsungkaksem9181 Жыл бұрын

    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ การเมือง เป็น ตลาดวิชา แห่งแรกของ ประเทศไทย ที่ ดร ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์ ตั้งใจยกระดับ การเข้าถึงการศึกษาของ พลเมือง การ เพียงแต่ คนในประเทศ ยัง ไม่พร้อมกับ แนวคิดแบบนี้ ประชาชนไทยยังยึดติดกับ รูปแบบ (อนุรักษ์นิยม และ ระบอบการปกครองใน แบบMonarchy จึง นิยม จุฬา มหิดล แทนที่ จะเป็น รามคำแหง หรือ สุโขทัยธรรมาธิราช ) แนวคิดนี้ ในUK เช่น Open University หรือ เยอรมันFern Universität มีมานานแล้ว ขอให้ ธรรมศาสตร์ รักษาจุดยืน ของผู้ก่อตั้ง และ ผู้ประศาสน์การ ที่ต้องการ กระจาย การศึกษาที่มีคุณภาพ ให้กับ ประชาชนไทย และ รักษาความเป็นผู้นำด้านแนวคิดทางการเมืองที่กระจายอำนาจสู่ประชาชน ที่เราเรียก ว่า ประชาธิปไตย ให้คนส่วนใหญ่ของ ประเทศเข้าใจ

  • @naikhonthai122
    @naikhonthai122 Жыл бұрын

    มหาลัยดังๆ ยังมีความจำเป็นครับ เพราะสังคมต้องแยกพวกวัยรุ่นเน่าๆออกไป วัยรุ่นดีๆจะไปรวมตัวกันที่หมาลัยดังๆ ส่วนความรู้ก็ไปหากันเอาเอง อาจารย์ก็ไม่ได้เก่งกว่านักศึกษาหรอก ความรู้มันอยู่ในตำรา จะว่าไปแล้ว อาจารย์ไม่ต้องมียังได้(บางสาขาวิชา) หมาลัยดีๆ ก็เหมือนจุดนัดพบพวกวัยรุ่นที่มีความรับผิดชอบ บริษัทเอกชนใหญ่ๆเขาก็รับเข้าทำงานอย่างสบายใจไง หมาลัยเน่าๆ มีไว้รองรับพวกวัยรุ่นเน่าๆ มีรายได้เลี้ยงองค์กรเลี้ยงอาจารย์ได้เรื่อยๆ วัยรุ่นก็ไปลุ้นสอบเข้ารับราชการต่อไป เพราะราชการจะมาเลือกที่รักมักที่ชังไม่ได้

  • @victorjacques5201

    @victorjacques5201

    Жыл бұрын

    ถ้าจะบอกว่า ม.ดังเป็นศูนย์รวมคนที่พอมีความสามารถระดับนึงก็อาจจะถูกนิดนึง แต่ถ้าบอกว่าเป็นศูนย์รวมคนที่มีความรับผิดชอบอะยังผิดไปหลายป้าย

  • @dontreekhrutdilakanan8548

    @dontreekhrutdilakanan8548

    Жыл бұрын

    อยากเห็นธรรมศาสตร์.เปิดเรียนวิดวะโยธาทางไกลดูมั่ง. เด็กมันจะใช้กล้องส่องทางไกลหรือทำแลปเทสคอนกรีตเป็นป่ะ

  • @theunicornsstyle6515

    @theunicornsstyle6515

    Жыл бұрын

    อันดับของมหาลัยอย่างหนึ่งจากเกณฑ์ทั้งหมดคือวัดจากความเก่งอาจารย์(ดูที่ Researchของจารย์) , เนื้อหาที่อาจารย์สอนมันเหมือนกันทั้งประเทศแหละทุกมหาลัย สิ่งที่ต่างคือนักเรียนต้องไปขอรับงานเพิ่มจากอาจารย์ รับโปรเจ็กท์นอก ยิ่งมหาลัยดังๆ อาจารย์คือสุดจริง ระดับโลกมาสอนทั้งนั้น คือนักศึกษาไม่รู้เพราะแกเก่งเกินเข้าถึงยาก ที่คุณบอกว่าอาจารย์ไม่ต้องมีก็ได้คุณเข้าใจผิดอย่างมากที่สุดนะครับ อาจารย์คือเหตุผลที่นักเรียนยังต้องไปมหาลัยครับ ที่ทำงานเค้าไม่ค่อยสนใจว่าคุณจบที่ไหนเท่าคุณเคยทำงานกับใครหรอกครับ ถ้าไม่มีอาจารย์คุณนั่งเรียน Coursera เอาดีกว่า

  • @chenhuiting8703

    @chenhuiting8703

    Жыл бұрын

    ราชการเลือกสถาบันไม่ได้ แต่ทำข้อสอบคัดให้เข้มๆได้เหมือนกัน บางมหาลัยคิดว่าบัณฑิตตัวเองแน่มาก แต่สถิติมันไม่ได้บอกอย่างนั้น แล้วสถิติม.ธรรมศาสตร์ ก็ยังดีอยู่ ในวงราชการ และงานราชการก็คือดีที่สุดแล้วในตลาดแรงงานไทยที่กำลังเหี่ยวเฉา ส่วนระดับภูมิภาคระดับโลก ภาคเอกชนไทยก็สู้เค้าไม่ได้ มีบริษัทใหญ่ๆตระกูลเจ้าสัวไม่กี่ตระกูล นอกนั้นก็ชนชั้นกลางรายได้ต่ำเกือบทั้งประเทศ เวลาเศรษฐกิจดีก็เหยียดราชการ เวลาเศรษฐกิจแย่มาอิจฉาซะงั้น

  • @user-zz5uv8my2k
    @user-zz5uv8my2k Жыл бұрын

    ตลาดวิชา ให้ทุกคนเข้ามาเรียนได้อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน ไม่จำกัดวัย อายุ ทุกคนไม่ว่าจะวัยอะไร อายุเท่าไหร่ สมควรจะได้เข้ามาเรียนมหาวิทยาลัยอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกกีดกัน เพราะคนทุกคนอยากมีความรู้เพื่อจะไปพัฒนาประเทศ

  • @meekwamsook
    @meekwamsook Жыл бұрын

    ผมว่าจำเป็นนะ ผมสายสำรวจและก่อสร้าง มองว่าควรเรียนพื้นฐานไปด้วยและส่งเด็กทำงานไปพร้อมๆกัน คือเรียนพื้นฐาน1-2ปี แต่ช่วงปิดเทอมเด็กๆต้องฝึกงานพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียนมา แล้วเข้าปี3-4 จะเป็นขั้นสูง เด็กต้องผ่านการทดสอบในการเรียนขั้นสูงและผ่านการทำงานขั้นสูงเช่นกัน ซึ่งจะต้องได้รับความร่วมมือกับเอกชนอย่างมาก จบมาก็ทำงานได้เลย ไม่ต้องไปเริ่มใหม่แล้ว และเราต้องยอมรับว่าการงานจะดีได้ นอกจากจะเก่งแล้ว ไม่ว่าประเทศไหน คอนเน็คชั่นสำคัญมาก ทุกวันนี้เราหาคอนเน็คชั่นง่ายขึ้นมาก แต่บางอย่างเราจำเป็นต้องพึ่งความเป็นสถาบันเดียวกันอยู่ อันนี้มองในโลกการทำงานจริงๆนะครับ ^_^

  • @zightdavansia9713
    @zightdavansia9713 Жыл бұрын

    เพราะมหาวิทยาลัย ให้ความหวัง ให้ความฝัน ให้ความเชื่อ แต่ไม่ค่อยให้ควาามจริง...

  • @sirichaokongerm7337
    @sirichaokongerm7337 Жыл бұрын

    มหาลัยอีกหลายแห่งที่อาจจะเหลือเพียงประวัติศาสตร์ สาเหตุที่พอคิดได้ 1.อัตตราการเกิดของเด็กต่ำลง 2.คนไม่เรียนยังมีอีกเยอะ 3.มหาลัยที่ออกนอกระบบไม่สามารถเลี้ยงตัวเองได้ 4.หลักสูตรการเรียนไม่สอดคล้องกับการทำงานจริง

  • @user-vp2vv7vq1t
    @user-vp2vv7vq1t Жыл бұрын

    เคยได้ยินคำว่าความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอดไหม นั่นเเหละต่อมห้มีความรู้มากเเค่ไหน ถ้าปฎิบัติจริงไม่ได้ก็จบ เเละวิชาที่ต้องลงมือทำก็พวก วิทยาศาสตร์ เเพทย์ วิศวะ หรือพวกช่างต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์เเละเครื่องมือเฉพาะทาง เเต่ถ้าสาขาอื่นๆอาจจะศึกษาเองได้ เเต่พวกปฎิบัติยังไงก็ต้องลงมือทำ

  • @fjj1065
    @fjj1065 Жыл бұрын

    ภูมิใจ​ที่​จบธรรมศาสตร์​ ถ้า​มี​โอกาส​อยาก​จะ​เรียน​ต่อ​ป.โท​

  • @Ajmond1
    @Ajmond1 Жыл бұрын

    ฝึกอาชีวะให้แข็งแรง ทฤษฎี ผสมปฏิบัติ จะทำให้เห็นรายละอียด การประยุกต์ใช้ สร้างอาชีพได้ แล้วเรียนรู้ในขั้นต่อๆไปได้ ประเทศไทย เราสร้างค่านิยมผิดๆ ดูถูกอาชีวะมากไป

  • @KoBnoii001
    @KoBnoii001 Жыл бұрын

    ดีมากๆเลยครับ

  • @notavail
    @notavail Жыл бұрын

    การหาความรู้จากเนทนั้นง่ายและทันสมัย สิ่งที่มหาวิทยาลัยจะให้ได้มากกว่าเนท คือ การได้ทดลองลงมือทำ, การมีงานวิจัย และการเชื่อมต่อกับองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน

  • @luxtong2565
    @luxtong2565 Жыл бұрын

    การเรียนรู้ทางด้านหัตถการ​คือ.. จะต้องเกิดจากทักษะ​มากขึ้น เช่นใน สาย คณะ​วิศวกรรมศาสตร์​ สาขาโยธา​ สาขาคอมพิวเตอร์​ สาขาไฟฟ้า คณะ​ วิทยาศาสตร์​ สาขาเคมีคอล​ สาขาคอมพิวเตอร์​ คณะแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์​ คณะทันตแพทย์ศาสตร์​ คณะนวัตกรรม​ ก็ต้องเกิดความชำนาญ​จากทักษะ ​ในการทำงาน ซึ่งเรียนออนไลน์​ไม่ได้ตอบ​โจทย์​หรือ แก้ปัญหา​ได้คะ พอยิ่งมาฟังอาจารย์​แล้ว ยิ่งเข้าใจมากขึ้น อย่างไรก็แต่ ก็ยังจำเป็นในการฝึกฝนจากทักษะ​ การใช้เครื่องมือ ในการปฏิบัติ​งานจริงๆอยู่ดี ยิ่งเป็น คณะแพทยศาสต​ร์​ คณะพยาบาล​ และสายสุขภาพทักแขนง ก็ต้องปฎิบัติ​กับผู้ป่วยจริง ส่วนสายวิศวกรรมศาสตร์​ก็ต้องใช้เครื่องไม้เครื่องมือที่พร้อมและฝึกฝีมือบ่อยๆ เพื่อให้เกิดความชำนาญ และทักษะในการแก้ไขปัญหา​ได้ตรงจุด มากยิ่งขึ้นคะ

  • @aaabbb6341
    @aaabbb6341 Жыл бұрын

    มันเป็นความจริงน้ะขนาดตอนเรียนไม่ค่อยเข้าเรียน แต่ตั้งใจติวในระยะเวลาสั้นๆยังจบ ป.ตรีมาได้ มันเหมือนทางลัดเข้าใจง่ายกว่าเข้าเรียนอย่ายึดติดกับมหาวิทยาลัย ขนาดอาจารย์บางท่านก็ยังเปลี่ยนย้ายมหาวิทยาลัยกันเรื่อยๆเพราะทะเลาะกันเองในคณะ

  • @kainTu2365
    @kainTu2365 Жыл бұрын

    แต่ค่าคอส แพงมากครับ 4500 ได้ใบ certificate. แค่ 7 hr. เอง ถ้าสัก 2-3 พัน หน้าจะok กว่านี้ เห็นmooc หลายๆ สถาบัน เรียนฟรีด้วยซ้ำ อยากให้พิจารนาราคาด้วยครับ เพื่อให้เข้าถึงคนได้มากขึ้น

  • @creativeshareknowledge2666
    @creativeshareknowledge2666 Жыл бұрын

    ชอบแนวคิดที่ อาจารย์กล่าวครับ

  • @maniapersea7390
    @maniapersea7390 Жыл бұрын

    ที่แน่ๆต้องมีพรรคพวก มีเส้นสายที่ดีด้วยครับ จะได้งานดีๆตำแหน่งดีๆ ครับ ถ้าไม่รู้จักใครเลย ก็คงยากครับสมัยนี้ คือมันเป็นแบบนี้จริงๆ คนของใคร ก็รู้ๆอยู่ว่า คนพวกเดียวกัน ก็รับพวกเดียวกัน เป็นแบบนี้จริงๆ คนที่เก่งจริงๆดีจริงๆ ส่วนมากไปเอกชนหมด แต่เอกชนก็มีเล่นพรรคเล่นพวก เส้นสายก็ด้วยนะ ถ้าจบที่เดียวกัน ก็รับมั่งครับ ไปลองถามคนที่ตกงานดู ว่าทำไม พวกนี้จะรู้ดี ที่แน่ๆ ต้องจบ ม ดังๆ

  • @ppsama1
    @ppsama1 Жыл бұрын

    เราสายภาษาเรียน4ปีในมหาลัยคือแทบไม่ได้ไรเลย จำไปสอบสอบแล้วก็ลืม แต่พอนั่งอยู่บ้านอ่านการ์ตูนในเน็ต ตอนนี้อ่านได้ 4ภาษา - -*

  • @XD-zg6ii

    @XD-zg6ii

    Жыл бұрын

    เห็นภาพชัดเลย

  • @BeeUltima

    @BeeUltima

    Жыл бұрын

    แจ๋วเลยครับ 🤣

  • @sandyalwaysvacation3775
    @sandyalwaysvacation3775 Жыл бұрын

    รองอธิการแต่งตัวเก๋มากค่ะ 😊

  • @baanblockchain
    @baanblockchain Жыл бұрын

    So Good

  • @misterken5420
    @misterken5420 Жыл бұрын

    สาขาสำคัญ​ แพทย์.. สาธารณสุข.. วิศวะ.. ปวส... เทคโนโลยี.การเกษตร.ด้านเกษตรศาสตร์. เท่านั้นที่มีความสำคัญ.... สาขาสังคมศาสตร์ทั้งหลายแหล่... ที่มีล้นประเทศ... ไม่รู้ตะเปิด​ จะเรียนกันไปทำไม​ คณะรัฐศาสตร์.. นินิศาสตร์.. บริหาร.. เศรษฐศาสตร์.. ศึกษาศาตร์.. ครุศาสตร์.. วารสารศาสตร์...... เต็มบ้านเต็มเมือง... ควรมีด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์.... เท่านั้น..... ประเดิมคือปิด... คณะสังคมศาสตร์.. ที่มีเกลื่อนเมืองไปเยอะๆ

  • @dbboyes8286
    @dbboyes8286 Жыл бұрын

    ผมว่าจำเป็นนะ เพียงแต่ต้องปรับหลักสูตรให้มันครอบคลุมงานที่ต้องทำจริง ๆ และเน้นสร้างทักษะประกอบกับความรู้ด้วยครับ (และความรู้ด้านทฤษฎีก็ควรถ่ายทอดให้อย่างถูกต้องด้วย) แน่นอนว่าเกรด ใบปริญญา มันไม่ใช่ตัววัดคุณค่าอะไรของคน ๆ นั้น แต่ผมว่าการถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างถูกต้องมีมาตรฐานมันเป็นสิ่งจำเป็นมาก ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อไปทำงานอย่างเดียว

  • @delpialos
    @delpialos Жыл бұрын

    ชอบพิธีกร คำถามเปรี่ยมด้วย ปัญญา ทำการบ้านมาดี

  • @justlikeyou5951
    @justlikeyou5951 Жыл бұрын

    จะจำเป็นในกรณีที่หลายๆองค์กรยังมีการ ขอดูใบจบเวลาไปสมัครงานนี่ละ แต่ก็มีหลายคนที่มีใบปริญญาไปยื่นแต่เข้าทำงานจริงๆกลับทำงานไม่ได้ เพราะชีวิตจริง กับในรั่วมหาลัยมีต่างกันยังไงละ นี่อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่หลายๆคนทนเรียน เพื่อแลกกับใบปริญญาไงละ เพราะความจริงแล้ว ความรู้หาได้ทั่วทุกที มหาลัยถึงไม่ได้สำคัญขนาดนั้น อาจารย์บางคนในมอ.ก็หาความรู้จากข้างนอกมาสอน นร. นี่แหละ

  • @nickspua1096

    @nickspua1096

    Жыл бұрын

    เชื่อหรือไม่ กรณีเด็กจบมาทำงานไม่เป็น มหาวิทยาลัยคิดว่าเป็นความผิดของตัวเด็กเอง

  • @patt3557
    @patt3557 Жыл бұрын

    พิธีกรเสียงใสมาก น่าฟังครับ

  • @user-eh2ec3rn6w
    @user-eh2ec3rn6w Жыл бұрын

    เรียนแบบ learn how to learn และต้องเรียนเพื่อความสามารถในการประยุกต์ใช้งานได้จริง ไม่ใช่เรียนเพื่อสอบ แล้วลืม ไม่สามารถประยุกต์ใช้งานได้

  • @charnpeng
    @charnpeng Жыл бұрын

    รัฐต้องวางนโยบายการศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ต้องสร้างแรงงานให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกซึ่งเร็วมาก ให้การสนับสนุนให้เกิดการศึกษาที่จะป้อนแรงงานให้ฝ่ายอุตสาหกรรม สันบสนุนด้านการเงิน ภาษี อื่นๆ ผมมองไม่เห็นประโยชน์กับหลักสูตรสายศิลปศาสตร์ซึ่งมีมากมายทุกมหาวิทยาลัยทั้งรัฐและเอกชน จัดการลดกลุ่มนี้ได้แล้ว

  • @t.lert4595
    @t.lert4595 Жыл бұрын

    Tuxsaเหมาะมากกับหลักสูตร ป โท, เรียนนอกเวลาคับ สำหรับคนที่อยากเรียนรู้แต่ไม่มีเวลาเข้ากรุงเทพแบบผม แต่อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยก็ยังคงจำเป็น …อาจารย์แป๋ง อาจวรงค์ เคยสอนผมว่ามหาวิทยาลัยต่างกับชีวิตจริงตรงที่ ในมหาลัย จะสอนบทเรียนเราก่อน ค่อยทดสอบเก็บคะแนน แต่ในชีวิตจริง จะทดสอบเรา ก่อนให้บทเรียน ซึ่งบางครั้งบทเรียนมันราคาแพงเกินกว่าเราจะมาลองผิดพลาดเอง ผมว่ามหาวิทยาลัยยังคงจำเป็นอย่างมาก สำหรับบางอาชีพที่ต้องใช้skill - performance หรือทักษะที่ต้อง ฝึกฝนจนชำนาญ แต่สำหรับ บางคณะ ที่เน้น information- knowledge เช่น it นิเทศ อักษร บัญชี รัฐศาสตร์ นิติ สังคม แน่นอนว่าพวกคุณต้องปรับตัว มหาวิทยาลัยควรตอบสนองต่อเด็กทุกแบบและทุกคณะ สุดท้ายนี้ ผมลองชวนให้คิดตามนะคับ คุณกล้าผ่าตัดไส้ กับหมอที่เคยฝึกกับ VR อย่างเดียวไหมคับ หรือ กล้านั่งเครื่องบินที่ออกแบบโดยวิศวะที่ทั้งชีวิตไม่เห็นเครื่องไอพ่นไหม ขอบคุณคับ

  • @Japan00000
    @Japan00000 Жыл бұрын

    แล้วแต่จุดประสงค์ครับ ถ้าพูดเรื่องเรียนจบมามีงานทไหม ก็อาจจะไม่ก็ได้ แต่มหาลัยก็คือศูนย์วิจัย มหาลัยรวบรวมและพัฒนาความรู้ คนที่ไม่อยู่ในวงการก็อาจจะไม่เหลียวแลความสำคัญการสร้างนวัตกรรมหรือการวิจัย เลยอาจจะคิดว่าไม่สำคัญหรือนึกถึงมั้งครับ แต่มหาลัยโดยทั่วไปถ้าหากมีเป้าหมายหลักคือการศึกษาและพัฒนาสังคม ผลงานมหาลัยก็จะเอาไปใช้ต่อได้ในราคาที่จับต้องได้ ซึ่งต่างจากถ้าเป็นบริษัทวิจัยเอกชนโดยทั่วไปที่เป้าหมายคือกำไรครับ ยาวเกินขี้เกียจอ่าน : มหาลัยยังสำคัญในเรื่องการพัฒนาความรู้และนวัตกรรม

  • @DPP-
    @DPP- Жыл бұрын

    มหาลัยยังจำเป็นสำหรับเด็กที่ต้องใช้แล็บนะ ยังจำเป็นที่ต้องเจอเพื่อน เจอครูเพื่อพูดคุย วิวาทะ ทุกอย่างคือการเรียนรู้ คือส่วนหนึ่งของการสั่งสมประสบการณ์ ลูกเราน่าสงสาร เรียนสองปีสุดท้ายในยุคโควิด ที่ไม่มีโอกาสเจอใคร ขณะที่มหาลัยรัฐ และโดยเฉพาะคณะที่แยกตัวออกเอกเทศแบบคณะลูกชายเรายังคงคิดหน่วยกิตและค่าธรรมเนียมการศึกษาเท่าเดิม หน่วยกิตละ 3,500 แล็บหน่วยกิตละ 4,500 +ค่าธรรมเนียมอีกเทอมละเกือบสามหมืน ช่วงโควิดแรกๆ ไม่ลด ปีหลังมีน้ำใจลดให้สองพันกว่าบาท จ่ายต่ำกว่าแสนแม่แทบจะร้องไห้ดีใจ (รุ่นแม่จ่ายค่าหน่วยกิตมธ 35.- รวมค่าธรรมเนียมปีนึงไม่เกินสองพัน) เด็กยุคโควิด ควรที่จะได้ทำโปรเจ็คจบบูรณาการหลายสาขาเข้าด้วยกันเหมือนมหาลัยเอกชนอื่น แต่ เด็กโควิดต้องทำ final project เฉพาะแพล็ตฟอร์มออนไลน์ โดยการพูดคุย ฝึกงานยังต้องฝึกงานแบบรีโมต ไม่มีโอกาสเจอะเจอสภาพสิ่งแวดล้อมที่ทำงาน น่าสงสารจริงๆ มหาลัยและคณะฯควรพิจารณาช่วยเหลือเด็กกลุ่มนี้ด้วยนะ นอกจากผ่านไปหนึ่งปีมีโทรมาถามหนึ่งครั้ง🎉

  • @daryzababor1
    @daryzababor1 Жыл бұрын

    การเรียนรู้นั้นสำคัญยิ่ง คนเรานั้นต้องเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา แม้จะพ้นรั้วมหาลัยมาแล้วก็ตาม แต่ก้าวแรกในการเรียนรู้นั้นควรจะมีเครื่องมือกำหนดทิศทาง ไม่ใช่ปล่อยสะเปะสะปะจนเด็กมันไม่รู้ว่าจะมุ่งไปตรงไหน ฉะนั้นการเรียนในรั้วในกรอบที่แน่นอนย่อมหวังผลได้ดีกว่าการปล่อยไปตามยะถากรรม

  • @fightfury785
    @fightfury785 Жыл бұрын

    มหาลัยยังจำเป็นอยู่และจำเป็นมาก เพราะถึงคุณจะเก่งในการค้นหาทาง Internet หรือห้องสมุดแค่ไหน แต่ถ้าคุณไม่มีเวทีแสดงความเก่งกาจให้เห็นคุณจะหาพันธมิตรร่วมในการเติบโตทางธุรกิจจากไหนกัน เว้นแต่จะเก่งมากๆเก่งโคตรๆชนะรางวัลได้ด้วยตัวคนเดียวเป็น 1 ในล้านก็อีกเรื่องนึง แต่เพราะ คนอีก 999,999 คนเค้าก็อาจไม่ได้เก่งแบบคุณนี่ เพราะงั้นมหาลัยคือตัวช่วยให้พวกเค้ามีโอกาสเพิ่มความเก่งขึ้นได้นอกจากการเรียนรู้กับอาจารย์ ก็ยังมีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ รุ่นน้อง อยู่ที่ว่าวันเวลาในตอนนั้นเราใช้ไปกับอะไร การลองศึกษาหรือการเที่ยวเล่น

  • @suttipongsuwannasatit763
    @suttipongsuwannasatit763 Жыл бұрын

    การเรียนรู้การเอาตัวรอดในทางสังคมก่อนวัยทำงาน ทางหนึ่งคือมหาวิทยาลัย แต่ถ้าในเรื่องความรู้ "อาจจะ" ไม่ยึดติดกับสถานที่ได้ นั่นหมายถึงตลาดแรงงานก็ต้องเปลี่ยนแปลงก่อนด้วย

  • @t_sixtyfivex_wing8787
    @t_sixtyfivex_wing8787 Жыл бұрын

    มันต้องมีทั้งสองอย่างคือ สถานศึกษาจริง และแบบ digital ครับ

  • @user-no3jw5hb5z
    @user-no3jw5hb5z Жыл бұрын

    หลักสูตรกับอาจารย์ พร้อมกันหรือยังครับ

  • @tc6192
    @tc6192 Жыл бұрын

    จำเป็นเพราะเป็น 1 ในเอกสารไว้สมัครงานค่ะ

  • @user-vq4re7by1s
    @user-vq4re7by1s Жыл бұрын

    เอาตรงเลย สมมุติจะผ่าตัด มีใครยอมให้คนไม่ได้เรียนหมอมาผ่าไหม เรียนทางไหนผมก็ไม่รู้หรอก แต่ต้องมีการออกใบรับรองว่าเขาผ่าได้จริง ไม่งั้นใครจะกล้าให้รักษาล่ะ

  • @narongsomroop6923
    @narongsomroop6923 Жыл бұрын

    เกือบร้อยปี มีนักคิดนักสร้างมีเทคโนโลยีที่คนไทยทำได้บ้าง นำเข้าทุกอย่าง เด็กก็น้อยปิดไปบ้างก็ดี

  • @sakawee2012
    @sakawee2012 Жыл бұрын

    เห็นด้วยบางส่วนครับ นศ.จบใหม่ หากไม่มีวุฒิ ไม่มีปริญญา บริษัททั่วไปอาจจะไม่รับ..ดังนั้น ทางมหาลัยต้องไปพลักดันการรับงานของ บ... ...แต่ หลักสูตรที่ อจ.อธิบายนั้น เป็นระดับ MBA ซึ่งคนส่วนใหญ่ทำงานแล้ว ย่อมมีcredentialเป็นทุนระดับหนึ่ง ดังนั้น การเรียนรู้เพิ่มเติม ย่อมสร้าง add up valueให้กับผู้เรียน

  • @YHUFANG
    @YHUFANG Жыл бұрын

    น่าสนใจมาก ฟังแล้วอยากต่อโทเลยค่ะ

  • @naikhonthai122

    @naikhonthai122

    Жыл бұрын

    มหาลัยดังๆ ยังมีความจำเป็นครับ เพราะสังคมต้องแยกพวกวัยรุ่นเน่าๆออกไป วัยรุ่นดีๆจะไปรวมตัวกันที่หมาลัยดังๆ ส่วนความรู้ก็ไปหากันเอาเอง อาจารย์ก็ไม่ได้เก่งกว่านักศึกษาหรอก ความรู้มันอยู่ในตำรา จะว่าไปแล้ว อาจารย์ไม่ต้องมียังได้(บางสาขาวิชา) หมาลัยดีๆ ก็เหมือนจุดนัดพบพวกวัยรุ่นที่มีความรับผิดชอบ บริษัทเอกชนใหญ่ๆเขาก็รับเข้าทำงานอย่างสบายใจไง หมาลัยเน่าๆ มีไว้รองรับพวกวัยรุ่นเน่าๆ มีรายได้เลี้ยงองค์กรเลี้ยงอาจารย์ได้เรื่อยๆ วัยรุ่นก็ไปลุ้นสอบเข้ารับราชการต่อไป เพราะราชการจะมาเลือกที่รักมักที่ชังไม่ได้

  • @aorta1629

    @aorta1629

    Жыл бұрын

    @@naikhonthai122 อย่างเช่นคุณ

  • @RollerCoaster007
    @RollerCoaster007 Жыл бұрын

    ส่วนตัวจบสายสังคม อยากให้น้องๆไปเรียนสาย STEM เยอะๆ จบออกมาแล้วจะเสียใจเหมือนพี่

  • @tittiyaladawansoonthorn9962
    @tittiyaladawansoonthorn9962 Жыл бұрын

    อยู่ที่มุมมองค่ะ :)

  • @ant71555
    @ant71555 Жыл бұрын

    เรียนให้อ่านออกเขียนได้ตามระดับที่ตนพอใจ แล้วลงสายอาชีพโลด ทำงานแล้วรู้ว่าขาดอะไรก็เรียนหลักสูตรระยะสั้นเสริมความสามารถเฉพาะด้าน เพื่อทำมาหากิน ก็เลี้ยงชีพได้แล้ว วิชาจำนวนมากเรียนไม่กี่วันก็เข้าใจ จะเรียน 4 ปี ผลาญเงินบุพการี แต่หาแด่กเองขณะเรียนไม่ได้เพราะเรียนเต็มเวลา น่าขบขันนัก เปน นศ.แพทย์ ก็มีรายได้จากการหัดเฝ้าไข้ได้ (เฝ้าตามหมอใหญ่สั่ง) และทีน่าสนใจ คือ ในประเทศพัฒนาแล้วการศึกษาระดับปริญญา เขาไม่กำหนดว่าต้องเรียนจบในกี่ปี เรียนไปตามอัธยาศัย จะเรียน 10 -15 ปีจบได้ใบปริญญาไปนอนกอด ก็เรื่องของคุณ และเขาไม่นิยมรับปริญญา อาทิ เยอรมัน ไม่มีเลย เขามองว่าเป็นการสร้างอภิสิทธิชนในสังคม กูเหนือกว่าเมิง เขาไม่เอาเลย จบมามี certificate ใส่ไว้ในแฟ้มที่บ้าน กับใช้ตอนสมัครงานเท่านั้น ความรู้อื่นๆ หาจากลงมือทำงานจริง โดยเฉพาะองค์กรขนาดใหญ่ระดับโลก เขาไม่สนคุณจะจบไรมาด้วย เพราะในองค์กรเขามีองค์ความรู้ที่คุณต้องเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการทำงาน ตามบทบาทหน้าที่ของตนเองอยู่แล้ว ปริญญาในรั้วมหาลัย สำหรับในองค์กรขนาดใหญ่ระดับโลก มันมีความหมายน้อย เป็นเรื่องเก่า ใช้ทำมาหากินในโลกสมัยใหม่ ไม่ทันกินกับเขา เขาสอนใหม่หมด

  • @user-hv2mu6zp6c
    @user-hv2mu6zp6c Жыл бұрын

    นึกไม่ออก ...^_____^ เราเรียนนิเทศศาสตร์ นิเทศศิลป์ จากห้องเรียน .....แต่ เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ....แนวนี้ เราเรียนของเราเอง ^______^ ....ไม่มีใครบังคับ ความสนใจมันนำพาไปเอง

  • @user-vs9ej4xo7o
    @user-vs9ej4xo7o Жыл бұрын

    จำเป็นบางอาชีพ เช่นอาชีพแพทย์ นักเคมี ชีววิทยา อาชีพที่เกี่ยวข้องกับความเป็นความตาย ลองผิดลองถูกมากไม่ได้ ยังจำเป็นอยู่จนกว่า Ai จะมาแทนที่ได้ 100%

  • @starwar2009
    @starwar2009 Жыл бұрын

    เปาโล แฟร เคยเสนอไว้ว่า...อย่า/ให้ลด COMMODIFY /STRATIFICATE EDDUCATION

  • @kokanakalasinan9496
    @kokanakalasinan9496 Жыл бұрын

    เคยได้ยินอาจารย์ท่านหนึ่งเคยพูด..." ความรู้ หรือ จะสู้ประสบการณ์ " ในบางกรณี...นะครับ

  • @naikhonthai122

    @naikhonthai122

    Жыл бұрын

    มหาลัยดังๆ ยังมีความจำเป็นครับ เพราะสังคมต้องแยกพวกวัยรุ่นเน่าๆออกไป วัยรุ่นดีๆจะไปรวมตัวกันที่หมาลัยดังๆ ส่วนความรู้ก็ไปหากันเอาเอง อาจารย์ก็ไม่ได้เก่งกว่านักศึกษาหรอก ความรู้มันอยู่ในตำรา จะว่าไปแล้ว อาจารย์ไม่ต้องมียังได้(บางสาขาวิชา) หมาลัยดีๆ ก็เหมือนจุดนัดพบพวกวัยรุ่นที่มีความรับผิดชอบ บริษัทเอกชนใหญ่ๆเขาก็รับเข้าทำงานอย่างสบายใจไง หมาลัยเน่าๆ มีไว้รองรับพวกวัยรุ่นเน่าๆ มีรายได้เลี้ยงองค์กรเลี้ยงอาจารย์ได้เรื่อยๆ วัยรุ่นก็ไปลุ้นสอบเข้ารับราชการต่อไป เพราะราชการจะมาเลือกที่รักมักที่ชังไม่ได้

  • @andyl9976

    @andyl9976

    Жыл бұрын

    @@naikhonthai122 ถูกต้อง 👍👍👍

  • @petchtong434

    @petchtong434

    Жыл бұрын

    ​@@naikhonthai122

  • @panyasuwanna1343
    @panyasuwanna13436 ай бұрын

    ทุกคน ควรมีสิทธิ์เข้าเรียน ในมหาวิทยาลัย ทุกเพศ ทุกวัย เพียง แต่ ต้อง อ่าน ออก เขียนได้ และ มีความสนใจ จริง จริง ในสาขา นั้น เพื่อ นำไปประกอบ อาชีพ ต่อไป ที่สำคัญ เรียนแล้ว ต้อง มีความสุขด้วยครับ ทุก คน ต้อง เรียน การเงินส่วนบุคคล ด้วย ก่อน จบ มหาวิทยาลัย ที่สำคัญทุกวิชาต้อง เรียน เป็น ภาษา อังกฤษ ยกเว้น วิชาภาษาไทย ครับ แนวคิด ผม ครับ

  • @kovision
    @kovision Жыл бұрын

    แนวคิดดีมากครับ ผมก็เรียนเขียน Software เองได้จาก KZread แต่ไม่มีใบรับรอง ผมจะสอบเอาจากที่ไหนได้บ้างครับ สมัครงานหลายที่ มีหลายบริษัทสนใจ แต่ก็ไม่กล้าจ้างเพราะผมไม่ได้จบด้านนี้มา

  • @admisbagarie

    @admisbagarie

    Жыл бұрын

    สอบใบ cer ครับ ผมเรียนไม่จบมหาลัยโดยออกมาตอนปี 3 คณะวิศวคอม เพราะทำคะแนนสาขาอื่นไม่ได้หรือคะแนนคณะอื่น F บ้าง D บ้าง แต่วิชาตัวในสาขาของคณะ A หมด จนเกรดห่วยแตกมาก ผมสอบ cer เอา แล้วเข้าสู่วงจร ทำงาน ทำได้ 6 ปีก็ออกมาทำเอง ตอนนี้จดบริษัท จ้างเด็ก จบมหาลัยมาทำงานครับ บริษัทผมจบจากไหนหรือไม่จบไม่สำคัญสอบตามโจทย์ของบริษัทได้ก็ได้ลองงาน

  • @Ajmond1

    @Ajmond1

    Жыл бұрын

    สมัยก่อนผมสัมภาษณ์มีเด็กที่ไม่จบสายตรงหลายคน มีใบcert.มาตรฐาน มีระบบคิด เดี๋ยวนี้หลายคนก็ไปได้ดีกับบริษัทระดับชั้นนำ ผมว่าคนทัศนคติดี ระบบคิดดี เรียนรู้เองเป็น สำคัญกว่า

  • @oopib624
    @oopib624 Жыл бұрын

    ในสายงาน หลายคณะที่ต้องมีปฏิบัติ ยังไงก็ต้องมี ต้องเรียน และการมีมหาวิทยาลัยทำให้เด็กรู้จักโลกแห่งความเป็นจริง การเข้ากับคนในสังคมที่แตกต่างไปจากที่ตนเองเคยเจอมาตอนเด็กๆ หรือ ม.ปลาย การให้การศึกษาไม่เพียงพอ การสอนให้ใช้ชีวิตด้วยสำคัญ ระดับมหาวิทยาลัยคือที่ๆ หนึ่งก่อนไปทำงานจริง ใครได้เรียนในระดับมหาวิทยาลัยให้เก็บเกี่ยวประสบการณ์และความรู้ให้ได้มากที่สุด พอโลกทำงานจะแตกต่างไปเลย

  • @thakachi4502

    @thakachi4502

    Жыл бұрын

    พี่ชายผมวิศวะโยธา เรียนภาคสมทบไปบ้างไม่ไปบ้าง😅

  • @viviangenesie5291
    @viviangenesie5291 Жыл бұрын

    สาย STEM อาจต้องเรียนในมหาต่อไป แต่สายสังคม มนุษย์ ไม่แน่ใจ

  • @me-zt8ui
    @me-zt8ui Жыл бұрын

    ปัจจุบันผมสามารถหางานวิจัยใหม่ๆ ของไทยเพื่อเข้าศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ไหนบ้างครับ

  • @yutu8144

    @yutu8144

    Жыл бұрын

    งานวิจัยใหม่ๆ จะถูกเสนอไปที่ สกสว. เพื่อขอทุนครับ

  • @rattanaparis2229
    @rattanaparis2229 Жыл бұрын

    มีหลายสาขาหลายคณะในประเทศไทยไม่ใช่เฉพาะ ม.ธรรมศาสตร์ ไม่ควรเรียน เรียนไปก็ตกงาน เสียเวลาเรียนเปล่าๆ

  • @orachonkota3871
    @orachonkota3871 Жыл бұрын

    ใบปริญาสำคัญหรือไม่ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับสถาบันการศึกษาฝ่ายเดียว แต่ขึ้นอยู่กับตลาดจ้างงานและนักศึกษา

  • @mefarmsuk7656
    @mefarmsuk7656 Жыл бұрын

    จำเป็นสำหรับคนที่ต้องการวุฒิ มีลูกน้องมาปรึกษาเรื่องส่งลูกเรียนป.ตรี ก็บอกให้เขาลองคำนวนดูว่าจบแล้วคืนทุนกี่ปี

  • @fcavengerspp
    @fcavengerspp Жыл бұрын

    ก็มีแค่2หลักสูตรมานานแล้ว จะมีหลักสูตรอื่นๆ มาเพิ่มสักที

  • @user-fg8hs5ju6n
    @user-fg8hs5ju6n Жыл бұрын

    ปัญหาระบบการศึกษา + เส้นสาย จบมะ คนธรรมดาอย่างเราก็เป็น แรงงาน ไง (ประชด)

  • @lifestyle.8192
    @lifestyle.8192 Жыл бұрын

    ถ้าผมจะส่งลูกเรียนจบมอสามพอ....อ่านออกเขียนได้ทำธุรกิจหาเงินก่อนรวยก่อน....แต่ไม่ดูถูกการศึกษานะครับอย่าดราม่า

  • @buggyman6122

    @buggyman6122

    Жыл бұрын

    การศึกษาสำคัญนะ สำคัญที่ ไม่ให้ คนอื่นหลอกเราได้ง่าย แต่ไม่จำเป็นต้องเน้นมาก เน้นทำธุรกิจด้วย เรียนไปด้วย เรียนเอาให้พอผ่าน ก็พอ พอให้ลูกมีสังคม ก็พอแล้ว รุ่นพี่ผมคนนึง จบม สาม มีเงินนะ แต่โดนเพิ่อน หลอกทำธุรกิจลานเท ปาล์ม ไม่ทันเค้า สุดท้าย โดนเขาโกงหมดตัว เพราะ คนโกงจบมหาลัย แต่คนโดนโกงจบ แค่ ม สาม

  • @jayesslee100
    @jayesslee100 Жыл бұрын

    มหาวิทยาลัยเปิดในประเทศไทยเรามีที่เดียวที่เป็น open university คือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.)

  • @beattumlen4856
    @beattumlen4856 Жыл бұрын

    สร้าง start up 1 อันเพื่อแลก 1 วิชา คุ้มจริงๆ

  • @CK-ti9oy
    @CK-ti9oy Жыл бұрын

    สายออกแบบ เริ่มไม่จำเป็น ลงคอร์สเรียน ดีกว่า เพราะอาจารย์ในมหาลัยนั้นคลานเหมือนเต่าไม่ทันโลกของการออกแบบในวงกว้าง สอนกันแต่ตำราโบราณ บ.สายนี้ไม่สนใจมหาลัยหรือใบอยู่แล้ว สนใจแค่ผลงาน

  • @user-vp2vv7vq1t

    @user-vp2vv7vq1t

    Жыл бұрын

    เเค่มีพอท มีผลงานให้เขาดู ไม่ต้องมีวุฒิเขาก็รับ ลองคนที่ไม่ได้เรียนเเต่เขาศึกษาเองเเละทำงานจริงไปเเล้ว2-3ปี กับคนที่ไม่เคยทำงานจริงเรียน4ปีเพิ่งจบ ยังไงคนที่มีผลงานกว่าก็ได้เปรียบ

  • @MrPatthara
    @MrPatthara Жыл бұрын

    น่าจะเป็นบางมหาลัย ในรายการคงไม่

  • @user-sw6gk3hl7w
    @user-sw6gk3hl7w Жыл бұрын

    ถ้าประชาชนกำลังดูถูกการศึกษา แสดงว่าคนในชาตินั้นหมดหวังกับการเรัยนรู้

  • @user-hv2mu6zp6c

    @user-hv2mu6zp6c

    Жыл бұрын

    Another brick in the wall ...เพลงนี้เกือบ 50ปีได้หรือยัง ....ทุกวันนี้ยัง Cover กันอยู่เลย ^_____^

  • @kingping8756

    @kingping8756

    Жыл бұрын

    ท่าทางไม่เข้าใจประเด็นนะ

  • @chomphong
    @chomphong Жыл бұрын

    ล้มเหลวมากๆ กับการผลิตนักศึกษา

  • @thanaphatt.6281
    @thanaphatt.6281 Жыл бұрын

    เลือกมหาลัยตามชื่อเสียงที่เป็นอยู่ในปัจจุบันก็ยังถูกต้องและดีครับ ในหลายๆด้าน สังคม อาจารย์ สภาพแวดล้อม ผมเรียนวิศวะ บอกเลยว่าอาจารย์มีผลมากๆ เราเรียนกับคนเก่งๆและอาจารย์ระดับประเทศ ที่ผ่านมหาลัย Top 1-10 ของโลก มันทำให้สิ่งที่แนะแนวหรือแนวทางการสอนค่อนข้างหินและคัดคุณภาพนิสิตตามระบบการสอบคัดเลือกมากครับ บางทีหน้าที่อาจารย์ไม่ได้เผยไต๋ความรู้ให้นิสิตทั้งหมด แต่สามารถตั้งคำถาม สมมุติฐานให้นิสิตรู้จักค้นคว้า ศึกษาต่อในกรอบเวลาจำกัด รับแรงกดดันได้ดีขึ้นครับ

  • @kds2196
    @kds2196 Жыл бұрын

    จำเป็นแค่เฉพาะบางสาขา

  • @STUDIO-wp6wl
    @STUDIO-wp6wl Жыл бұрын

    จะยังมีอยู่ แต่จะเหลือน้อยลง

  • @SGBN_TH
    @SGBN_TH Жыл бұрын

    อยากรู้ว่ามหาลัยจำเป็นหรือไม่ แต่ไปถามอาจารย์มหาลัย เหมือนไปถามพ่อค้าขายหมูในยุตที่คนไม่กินหมู

  • @paulab.5621
    @paulab.5621 Жыл бұрын

    👍👍👍👍👍

  • @kanun05
    @kanun05 Жыл бұрын

    ไม่รู้สิ เข้าไปก็ให้ศึกษาข้อมูลเอง ไปดูในเน็ตเอง อาจารย์เป็นคนรีเช็คความถูกต้องให้ มีคำถามในหัวว่า งันทำไมเราไม่จ้าง คนมารีเช็คให้ตัวเราเวลาเราเรียนรู้บ้างสิ่งบ้างอย่างแทนละ? หลักสูตรแต่ละมหาลัยก็ไม่เหมือนกันแต่มีแก่นที่เหมือนกัน แปลว่าเราสามารถออกแบบการเรียนของเราเองได้ให้สอดคล้องกับแก่นของวิชานั้นๆแทน ยกเว้นพวกที่เรียนปฎิบัติการ lab

  • @user-hq6zq9wk8k

    @user-hq6zq9wk8k

    Жыл бұрын

    "Syllabus" หลักสูตร ทิศทางในการค้น กำหนดโดยอาจารย์ผู้สอนในช่วงนั้นๆ เพื่อการเรียนรู้ไปในทิศทางที่ถูกต้อง(ไม่มั่ว)

  • @Itube290929
    @Itube290929 Жыл бұрын

    มหาลัยยังจำเป็น เพราะความรู้ที่จะเข้าสมองควรได้รับการ prove แต่อย่าเรียนแค่วิชาการแบบเดิมๆค่ะ

  • @jobbynaka5354
    @jobbynaka5354 Жыл бұрын

    👍🏻

  • @aonutube
    @aonutube Жыл бұрын

    ไม่จำเป็นครับ น้องผมนั่งดูยูทูบผ่าตัดหัวใจวันเดียว วันต่อมาไปผ่าตัดเลย แต่คนไข้ยังไม่ฟื้นนะ รอวัดดวงเอา

  • @pongsakvittayarumpa9233
    @pongsakvittayarumpa9233 Жыл бұрын

    มีแต่โรงเรียนนายร้อยก็พอ สอนทหารทุกสาขาวิชา ประเทศก็อยู่ได้สบาย

  • @AroonNanta

    @AroonNanta

    Жыл бұрын

    เห็นด้วยครับ

  • @buyerfeel
    @buyerfeel Жыл бұрын

    จำเป็น

  • @rattanaparis2229
    @rattanaparis2229 Жыл бұрын

    สายวิทย์ต้องเรียน แพทย์ วิศวโยธา วิศวไฟฟ้า เป็นต้นเท่านั้น ไม่งั้นตกงาน

  • @bankypeteay
    @bankypeteay Жыл бұрын

    ศาสตร์ที่มีมูลค่าเวลาสูง ย่อมมีค่ามากกว่าสาขาวิชาที่มีมูลค่าเวลาต่ำเสมอ

  • @AntonioCU42
    @AntonioCU42 Жыл бұрын

    ไม่จำเป็นถ้ามีเงิน ถ้าไม่มีเงินก็จำเป็น พอหาเงินได้ก็จะไม่จำเป็น งงไหม

  • @arm12137
    @arm12137 Жыл бұрын

    หัวข้อควรเป็น "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยังจำเป็นหรือไม่" เพราะธรรมศาสตร์ไม่ได้เป็นตัวแทนของมหาวิทยาลัยทั้งหมด ถ้าจะเอาหัวข้อนี้ควรไปถามอันดับ 1 อย่างมหิดลมากกว่า หรือจุฬาก็ได้ ต้องทำให้คนยอมรับที่ผลงาน ไม่ใช่ประวัติศาสตร์

  • @AranArayawattana
    @AranArayawattana Жыл бұрын

    ถ้าหลักวิชาการใช้งานได้แค่ในห้องสอบ ใบปริญญาก็มีค่าแค่เพียงวอลเปเปอร์เท่านั้น

  • @BeeUltima
    @BeeUltima Жыл бұрын

    ทำไมไม่นั่งคุยกันไม่เมื่อยหรือ 🤣🤣🤣

  • @RedHairGildarts
    @RedHairGildarts Жыл бұрын

    ใครๆก็อยากเรียนมหาลัย

  • @khaschen

    @khaschen

    Жыл бұрын

    ยุคสมัยใหม่ คงไม่เสมอไป

  • @user-se9sb6um2q
    @user-se9sb6um2q Жыл бұрын

    เรียงแค่รู้ไม่จำเป็นตอ้งจบเสียเวลา สำหรับที่อยากจะรวย

  • @asianpigeonwingshut10
    @asianpigeonwingshut10 Жыл бұрын

    จีนยังมาเรียนไทยเอาปริญญาภาษาไทย มีอนาคต ได้งานเมืองไทย (ไทยไม่ต้องเรียน แต่คนจีนกำลังมาเรียนและทำงานแทนคนไทย? นโยบาย?)

  • @phasathornjew.4785
    @phasathornjew.4785 Жыл бұрын

    รับความจริงได้มากเเค่ไหนคะ?

  • @naikhonthai122

    @naikhonthai122

    Жыл бұрын

    มหาลัยดังๆ ยังมีความจำเป็นครับ เพราะสังคมต้องแยกพวกวัยรุ่นเน่าๆออกไป วัยรุ่นดีๆจะไปรวมตัวกันที่หมาลัยดังๆ ส่วนความรู้ก็ไปหากันเอาเอง อาจารย์ก็ไม่ได้เก่งกว่านักศึกษาหรอก ความรู้มันอยู่ในตำรา จะว่าไปแล้ว อาจารย์ไม่ต้องมียังได้(บางสาขาวิชา) หมาลัยดีๆ ก็เหมือนจุดนัดพบพวกวัยรุ่นที่มีความรับผิดชอบ บริษัทเอกชนใหญ่ๆเขาก็รับเข้าทำงานอย่างสบายใจไง หมาลัยเน่าๆ มีไว้รองรับพวกวัยรุ่นเน่าๆ มีรายได้เลี้ยงองค์กรเลี้ยงอาจารย์ได้เรื่อยๆ วัยรุ่นก็ไปลุ้นสอบเข้ารับราชการต่อไป เพราะราชการจะมาเลือกที่รักมักที่ชังไม่ได้

  • @FuHaruka2545

    @FuHaruka2545

    Жыл бұрын

    @@naikhonthai122 อย่าก็อปได้มั้ยคับ

  • @dinsoasa5353

    @dinsoasa5353

    Жыл бұрын

    @@naikhonthai122 เอ่อจริง

  • @damthom4237
    @damthom4237 Жыл бұрын

    โรงเรียยน มหาลัย ไม่จำเปนเลย อยากมีอนาคตต้องมีความรู้จริงๆ ไม่ใช่มีกระดาษ

  • @user-ju2lj3si5r
    @user-ju2lj3si5r Жыл бұрын

    ทั้งคาบมันก็สอนแต่เรื่อง16ตุลา จะไปมีอนาคตได้ไง

  • @chopinisee
    @chopinisee Жыл бұрын

    จำเป็น แต่หลักสูตร การสอน โคตรล้าหลัง ไทยควรเลียนแบบเยอรมัน โดยเฉพาะสายวิศวะ และวิทย์ประยุกต์

  • @chatephucharoen2284
    @chatephucharoen2284 Жыл бұрын

    เอาไว้เป็นพิพิธภัณฑ์

  • @china-ustechnologicalparit3000
    @china-ustechnologicalparit3000 Жыл бұрын

    มหาวิทยาลัย​ไทย​=ไม่​จำเป็น.​ ประเทศ​ไทย​แทบจะ​ไม่​วิจัย​ คือ​มี​แต่​น้อย​มาก​ มหาวิทยาลัย​ฝรั่ง, จีน, ญี่ปุ่น​=จำเป็น

  • @naikhonthai122

    @naikhonthai122

    Жыл бұрын

    มหาลัยดังๆ ยังมีความจำเป็นครับ เพราะสังคมต้องแยกพวกวัยรุ่นเน่าๆออกไป วัยรุ่นดีๆจะไปรวมตัวกันที่หมาลัยดังๆ ส่วนความรู้ก็ไปหากันเอาเอง อาจารย์ก็ไม่ได้เก่งกว่านักศึกษาหรอก ความรู้มันอยู่ในตำรา จะว่าไปแล้ว อาจารย์ไม่ต้องมียังได้(บางสาขาวิชา) หมาลัยดีๆ ก็เหมือนจุดนัดพบพวกวัยรุ่นที่มีความรับผิดชอบ บริษัทเอกชนใหญ่ๆเขาก็รับเข้าทำงานอย่างสบายใจไง หมาลัยเน่าๆ มีไว้รองรับพวกวัยรุ่นเน่าๆ มีรายได้เลี้ยงองค์กรเลี้ยงอาจารย์ได้เรื่อยๆ วัยรุ่นก็ไปลุ้นสอบเข้ารับราชการต่อไป เพราะราชการจะมาเลือกที่รักมักที่ชังไม่ได้

  • @atist.7198

    @atist.7198

    Жыл бұрын

    ของไทยวิจัยแล้วขายสิทธิ์ให้เมื่องนอกหมดคับ

  • @lolomomo1750

    @lolomomo1750

    Жыл бұрын

    โหย มอผมต่างจังหวัดบังคับงานวิจัยเลยนะครับ ไม่มีงานวิจัย 5 ปีไล่ออกเลย

  • @Piangporn
    @Piangporn Жыл бұрын

    ราชการไทย ปรับตัวหรือยัง กับความคิดที่ไม่ยึดปริญญา

  • @SSS-wl5kh

    @SSS-wl5kh

    Жыл бұрын

    ติดที่กฏหมาย kzread.info/dash/bejne/p655qaeAo6fUoMo.html

  • @naikhonthai122

    @naikhonthai122

    Жыл бұрын

    มหาลัยดังๆ ยังมีความจำเป็นครับ เพราะสังคมต้องแยกพวกวัยรุ่นเน่าๆออกไป วัยรุ่นดีๆจะไปรวมตัวกันที่หมาลัยดังๆ ส่วนความรู้ก็ไปหากันเอาเอง อาจารย์ก็ไม่ได้เก่งกว่านักศึกษาหรอก ความรู้มันอยู่ในตำรา จะว่าไปแล้ว อาจารย์ไม่ต้องมียังได้(บางสาขาวิชา) หมาลัยดีๆ ก็เหมือนจุดนัดพบพวกวัยรุ่นที่มีความรับผิดชอบ บริษัทเอกชนใหญ่ๆเขาก็รับเข้าทำงานอย่างสบายใจไง หมาลัยเน่าๆ มีไว้รองรับพวกวัยรุ่นเน่าๆ มีรายได้เลี้ยงองค์กรเลี้ยงอาจารย์ได้เรื่อยๆ วัยรุ่นก็ไปลุ้นสอบเข้ารับราชการต่อไป เพราะราชการจะมาเลือกที่รักมักที่ชังไม่ได้

  • @jukkrugengi4680

    @jukkrugengi4680

    Жыл бұрын

    ถ้าไม่ใช้ปริญญาแล้วจะเอาอะไรมารับรองความสามารถล่ะ

  • @victorjacques5201

    @victorjacques5201

    Жыл бұрын

    @@jukkrugengi4680 Certificate จากสถาบันที่มีหน้าที่ทดสอบความสามารถ ไม่ก็ข้อสอบที่เกี่ยวข้องกับสกิลที่เหมาะกับองค์กรนั้นๆ ไง

  • @jukkrugengi4680

    @jukkrugengi4680

    Жыл бұрын

    @@victorjacques5201 แล้วมันจะต่างอะไรจากใบปริญญาล่ะ ใบรับรองบอกเลยว่าเชื่อถือได้น้อยกว่าอีกยิ่งเป็นประเทศไทยคิดว่ามันจะไม่มีการซื้อขายกันเหรอกับอะไรง่ายๆแบบนี้คิดให้รอบด้านสิว่าโลกแห่งความจริงกับโลกสวยในฝันมันต่างกันมากนะ

  • @chatchatch4350
    @chatchatch4350 Жыл бұрын

    ล่าสุด QS ranking มธ ก็แพ้มหิดลแล้ว

  • @victorjacques5201

    @victorjacques5201

    Жыл бұрын

    มหิดลก็เหนือกว่าด้านวิชาการมานานแล้วนะ ตกใจอะไรก่อน

  • @shiboshiba1921

    @shiboshiba1921

    Жыл бұрын

    @@victorjacques5201 ใจเย็นสู สายสังคม ยังคงเป็น ธรรมศาสตร์ จุฬา ในขณะที่มหิดลยังสู้ไม่ได้

  • @shiboshiba1921

    @shiboshiba1921

    Жыл бұрын

    Which universities are producing the most employable graduates? Find out with the QS Graduate Employability Rankings 2022. 1.จุฬา 2.ธรรมศาสตร์ 3.มหิดล

  • @KRU_IAM

    @KRU_IAM

    Жыл бұрын

    แต่มีนักร้องคนนึงจบ inter ของมหิดล ภาษาอังกฤษแย่มาก โดนคนในโซเชี่ยลล้อเลียนประจำ แต่เธอก็ยังขยันโพสต์เป็นภาษาอังกฤษ ไม่รู้มหาลัยปล่อยให้จบมาได้ยังไง งงเหมือนกัน

  • @tooksapek2246

    @tooksapek2246

    Жыл бұрын

    QS. Ranking อันดับมหาลัยโลกของมธ.แพ้มหิดลมานานแล้ว เพราะคะแนนในการจัดอันดับมหาลัยหลักๆมาจากการวิจัย และคะแนนจากงานวิจัยส่วนใหญ่มาจากคณะทางสายวิทยาศาสตร์ มหาลัยที่เด่นสายศิลป์อันดับโลกจะต่ำกว่ามหาลัยสายวิทย์เป็นปกติ แต่QS มีการจัดอันดับโลกคุณภาพบัณฑิตด้วย ( Graduate Employability Ranking) ปี 2022 มธ.อยู่ในอับดับที่ 3ของอาเซียน (จากมหาลัยที่เข้าร่วมทั่วโลกเกือบ 800 แห่ง ) เป็นอันดับ 1.ของไทยร่วมกับจุฬา...โดยอันดับโลกอยู่ในกลุ่มอันดับที่ 141-150 มหิดลเป็นอันดับ 2 .ของไทย...โดยอันดับโลกอยู่ในกลุ่ม 251-300 เชียงใหม่และเกษตรศาสตร์เป็นอันดับ 3.ของไทย...โดยอันดับโลกอยู่ในกลุ่ม 301-500 ปล.ในอนาคตเมื่อเด็กนักศึกษายุคทำแต่ม็อบจบออกไปอันดับอาจจะตกต่ำก็ได้

Келесі