No video

ep.82 (ภาค ๑/๔) สักครั้งในชีวิต !!! ศิลาจารึกหลักที่ ๑ อ่านให้ครบ จบทั้ง ๔ ด้าน

รุ่นเก๋า...เล่าเกร็ด
รายการประวัติศาสตร์ย่อยง่าย
เพื่อเสริมสร้างความรู้ทางเลือก
โดย หอย อภิศักดิ์
KZread : HOY APISAK - OFFICIAL
/ hoyapisakofficial
Fanpage : Hoy Apisak Fanspace
/ hoyapisak
Podcast : รุ่นเก๋า...เล่าเกร็ด
pod.co/hoyapisak
---
::: ขอขอบพระคุณ :::
ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส สกว.
ดร.ตรงใจ หุตางกูร
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
---
::: อ้างอิง :::
ศิลาจารึกหลักที่ ๑ (จารึกพ่อขุนรามคำแหง) เว็บไซต์ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)db.sac.or.th/i...
สุโขทัยคดี ประวัติศาสตร์ จารึกศึกษา และนิรุกติประวัติ (เอกสารประกอบการบรรยายฯ) โดย ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส สกว. [เล่ม ๑ และเล่ม ๓]
สุโขทัยคดีในมิติประวัติศาสตร์ จารึกศึกษา และนิรุกติประวัติ โดย ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโส สกว.
EP.03 [1/2]
• สุโขทัยคดี ในมิติประวั...
EP.03 [2/2]
• สุโขทัยคดี ในมิติประวั...
-
::: Credits :::
โมชั่นกราฟิกไตเติ้ลรายการ :
จารุวัตร โภไคธเนศ
Motion Graphic :
Jaruwatr Bhokhaidhanes
เพลงไตเติ้ลรายการและดนตรีประกอบ :
บันทึกเสียง มิกซ์ และมาสเตอร์ โดย นฤชิต เฮงวัฒนอาภา
Title Music and Scores :
Recorded / Mixed and Mastered by Naruechit Hengwattanaarpaa
ภาพนิ่ง :
รุ่งทิพย์ เฟื่องฟุ้ง
Photography :
Roongthip Fuengfung
สคริปต์ บรรยาย และเพลงประกอบรายการ :
หอย อภิศักดิ์
Written, performed and all music by Hoy Apisak
#ep82 #ศิลาจารึก #พ่อขุนรามคำแหง #ศิลาจารึกหลักที่1 #ด้านที่1 #สุโขทัย #อ่านจารึก #โบราณสถาน #Sukhothai #วินัยพงศ์ #ศรีเพียร #ตรงใจ #หุตางกูร #รัตนโกสินทร์ #พงศาวดาร #ประวัติ #Ayutthaya #เกร็ด #ความรู้ #ประวัติศาสตร์ #History #เสียงหอย #HoyApisak #Announcer #โฆษก

Пікірлер: 1 100

  • @user-lk6yh5bi7w
    @user-lk6yh5bi7w2 жыл бұрын

    ผมเรียนจบปริญญาตรีเอกวิชาประวัติศาสตร์มาแต่เชื่อไหมว่าผมไม่เคยได้อ่านหลักศิลาจารึกทั้ง 4 ด้าน ขอบคุณพี่หอยมากครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @prawitjaruwong7558

    @prawitjaruwong7558

    2 жыл бұрын

    @hihihi hihihi วใซมวบบยนาสวนนคราว

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@user-ko5sz7yc1y ทุกอย่างต้องเริ่มจากการอ่านให้ครบทั้ง 4 ด้าน ด้วยตัวเองก่อนครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@user-ko5sz7yc1y มันถึงต้องมีวิชานิรุกติศาสตร์ ที่เรียนเรื่องพัฒนาการของภาษาครับ ทุกภาษา ทุกตัวอักษร มันมีพัฒนาการของมัน การเรียนคือการตามไปแกะรอยพัฒนาการเหล่านี้ คลิปนี้ยาวแค่ 12 นาที แต่ ดร.ตรงใจ อธิบายให้เข้าใจง่ายมาก ลองคลิกดูนะครับ kzread.info/dash/bejne/jG2HlpRtgrSTd9I.html

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@user-ko5sz7yc1y ขอบคุณสำหรับความเห็นครับ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ผมอยากให้อ่านจารึกครบ 4 ด้านด้วยตัวเองสักครั้ง จะได้มีประสบการณ์ตรงครับ

  • @jaopeach5140
    @jaopeach51402 жыл бұрын

    เราเรียนคณะมนุษย์เอกไทยค่ะ กำลังเรียนเรื่องศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงพอดี อาจารย์เราให้ปริวรรตออกมาเป็นเรื่องเป็นราว ขอบคุณที่เอามานำเสนอ บรรยายได้อย่างแจ่มแจ้งและกระจ่างชัดนะคะ เป็นประโยชน์กับเรามากๆ เลย รออีก 3 EP ค่า

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ ดร.วินัยท่านทำไว้สมบูรณ์มากครับ

  • @user-cm4oq1mc7x

    @user-cm4oq1mc7x

    2 жыл бұрын

    ภาษาหลายคำคล้ายภาษาอิสานเก่า(ลาว)เช่นตู เวน แพ่ ปั่ว

  • @user-gv1hg2ui4w

    @user-gv1hg2ui4w

    2 жыл бұрын

    ,*ดีปก

  • @dearfillings8869

    @dearfillings8869

    Жыл бұрын

    คนสุโขทัยเป็นคนไทกลุ่มไหน? มีบางคนบอกว่าเป็นคนไทเลือง​ บรรพบุรุษมาจากทางหลวงพระบาง​ มาสร้างสุโขทัย

  • @saiyontmutaporn3110
    @saiyontmutaporn31102 жыл бұрын

    ดีมากเลยครับ ไม่เคยอ่านไม่เคยเห็นหลักศิลาจารึกมาก่อน ได้เรียนมาเล็กน้อยในช่วงมัธยมเท่านั้น เพิ่งมาได้ยินได้เห็นอย่างละเอียดละออในวันนี้ (22 เม.ย.2565) ซึ่งปลดเกษียณไปนานแล้ว มาเห็นในยูทูปนี่แหละ แต่ว่าถึงแม้มันจะละเอียดแค่ไหน รู้สึกว่า มันกระท่อนกระแท่น ได้แค่ภาพรวมเท่านั้น ถ้าจะให้ดีไม่ให้มันกระท่อนกระแท่น คือ เอาคำแปลที่แปลออกมาเป็นภาษาไทยในปัจจุบันแล้วมาเรียบเรียงให้มันต่อไปจนจบแต่ละหน้าเป็นบทสรุปต่อท้ายจะดีมากครับ (แต่ผมจะไปทำเองแล้วเอามาอ่านเองครับ) ขอบคุณมากที่ได้รับความรู้นี้จากท่านครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @arinradasinmaung2082
    @arinradasinmaung20822 жыл бұрын

    ขอบคุณทั้ง ดร.วินัย ที่ทำเนื้อหาและส่งต่อความรู้ไว้ให้คนรุ่นหลัง ขอบคุณพี่หอยที่เอามาย่อยง่ายๆ ทำให้มีความน่าสนใจขึ้นค่ะ ยอมรับว่าไม่เคยอ่านจบจริงๆ ส่วนใหญ่เวลาเรียนในโรงเรียนก็มีแค่ตัดตอนสำคัญๆมา จะรออีก 3 EP นะคะ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    กราบบบบบบบ งามๆๆๆๆๆ

  • @user-jh8yx5gl4c

    @user-jh8yx5gl4c

    2 жыл бұрын

  • @user-mp7uj8jr6g
    @user-mp7uj8jr6g Жыл бұрын

    ผมคนหนึ่งสนใจเรื่องวิชาประวัติศาสตร์ ครับ เมื่อก่อนมีความเชื่อว่าเขมรคือขอมและเป็นคนสร้างปราสาทหิน แต่ตอนนี้ ความคิดพลิกกลับว่าไม่ใช่เสียแล้วหลังจากที่ได้ องค์ความรุ้จาก อ.สุจิตต์ วงษ์เทศครับ และ นักวิชาการชาวพม่า จนไม่มีความเชื่อว่าคนไทยไม่ได้มาจากเทือกเขาอัลไตย เดิมก็มีความคิดว่า คนไทยไม่ได้มาจากไหน ก็อยุ่ที่เดิมนี่แหละคือดินแดนสุวรรณภูมิ

  • @worachetthiamthan308
    @worachetthiamthan3082 жыл бұрын

    ถือเป็นคลิป Masterpiece เลยครับ ทั้ง 4 Ep จะติดตามทุก Ep ครับ นับว่าครั้งแรกเลยมั้งครับที่ทำคลิปขึ้นยูทป อ่านจารึกครบทั้งสี่ด้าน

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @chanitsiresunthondet7715

    @chanitsiresunthondet7715

    Жыл бұрын

    เด็กไทยควรรู้...เห็นจริงจะได้รู้ไม่ได้รู้ไม่จริงเชื่อคนเลวๆๆให้ร้ายแผ่นดินไทยเรามีหลักฐาน

  • @rEVOLutioINsmyname
    @rEVOLutioINsmyname2 жыл бұрын

    ก่อนอื่นขอขอบคุณที่นำความรู้ดีๆมายอย ให้ได้ดูได้ฟังได้ศึกษากันแบบง่ายๆ, ขนาดที่ว่าลูกชายผม(6ขวบ)ดูกับผมทุกepชอบมาก จนต้องพาไปอยุธยา,กำแพงเพชร หลายรอบ เพื่อดูของจริง ชื่นชมคุณหอยจากใจเลยครับ ขอเป็นอีกหนึ่งกำลังใจให้ทำต่อไปเรื่อยๆนะครับ ปล.พ่อ,ลูกชอบเสียงคุณหอยจนต้องตามไปดูงานต่างๆที่คุณให้เสียงไว้ อย่าง ซีรี่ย์วืถีคน, มีรายการอื่นที่คุณให้เสียงไว้มาแนะนำอีกไหมครับ ขอบคุณล่วงห้าครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบพระคุณมากครับ มีงานโฆษณาในทีวี เดี๋ยวได้ยินคงจำได้ครับ 😁

  • @ceo3865

    @ceo3865

    2 жыл бұрын

    ขยันไปมากไป ครับ

  • @taspien
    @taspien2 жыл бұрын

    ชอบมากครับ ผมตั้งใจจะให้ นศ.ฟังในวิชาอนุุรักษ์มรดกเมืองด้วย

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    กราบขอบพระคุณครับอาจารย์ 🙏

  • @user-me7rg8sd2j
    @user-me7rg8sd2j2 жыл бұрын

    อ่านสำนวนความเห็นของคนที่บอกว่าศิลาจารึกนี้ปลอมแล้วรู้เลยว่าสักแต่ฟังเขามาโดยไม่เคยไปฟังเขาถกกัน เอาเฉพาะคำศัพท์ ความเป็นระเบียบของระบบตัวสือ การนำตัวสือไปใช้กับหลักศิลาจารึกอื่นๆ ที่รัชกาลที่4ไม่ได้ทรงไปเจอในยุคนั้นก็น่าเพียงพอแล้วว่าศิลาจารึกของพ่อขุนรามไม่น่าจะเป็นของปลอม

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@supawanthayaping7162 ขอบคุณครับ

  • @namfonk.8042

    @namfonk.8042

    2 жыл бұрын

    เชืีอมั้ยสมัยเราเรียนมธ.ปี2536 วิชสอารยธรรมไทย​เรียกชื่อเล่น​ว่า​ยำไทย​ อาจารย์ที่สอนวิชานี่แหละที่พูดว่าศิลาจารึก​เป็นของปลอม​ มา​ณ​ตอนนี้​ถึงบางอ้อเลยว่าทำไมเด็กมธ.รุ่นหลังๆ​ถึงได้มีความรู้เพี้ยนๆอย่างที่เห็นออกมาเต้นอยู่ในสังคมทุกวันนี้​ ปลูกฝังความเชื่อแบบผิดๆมาอย่างยาวนานนี่เอง

  • @toyouview

    @toyouview

    2 жыл бұрын

    @@namfonk.8042 เรียนรุ่นเดียวกันเลย เรารหัส 36 คณะนิติศาสตร์

  • @fc-kf4bt

    @fc-kf4bt

    Жыл бұрын

    หากว่าร.4 ท่านปลอมจารึกขึ้นมาจริง ๆ ตามที่สำนัก พรย กฤ ว่าก็นับว่า ร.4 ท่านมีพระอัจฉริยภาพทางภาษา อักษรศาสตร์จริง ๆ แต่หลักฐานจากการศึกษาทางนิรุกติศาสตร์ ข้อสันนิษฐานของผู้เชี่ยวชา่ญด้านจารึกเกี่ยวกับลักษณะหลักจารึกที่หาว่าแปลกกว่าจารึกหลักอื่น ๆ ทั้งที่ก็มีหลักฐานเกี่ยวกับรูปลักษณ์จารึกที่ปรากฏเช่นกันในจารึกเขมร การกล่าวถึงพระญาติพระวงศ์ด้วยที่ว่าไม่มีจารึกหลักใดพูดถึงกัน แต่หารู้ไม่ว่าจารึกเขมรร่ายยาวเป็นโคตรมากกว่าจารึกหลักที่ 1 ซะอีก แต่น่าแปลกใจคนเรียนประวัติศาสตร์หลายคนกลับบอกว่าจารึกหลักนี้ปลอมเพราะไปผูกโยงกับความคิดการสร้างรัฐชาติซะงั้น

  • @youdhagarnacharry4026
    @youdhagarnacharry40262 жыл бұрын

    มีสาระยอดเยี่ยมมากครับ ภูมิใจในอารยธรรมและพ่อขุนรามฯ ที่ได้ทรงประดิษฐฺอักษรจารึกประวัติเดิมทิ้งไว้ให้แก่คนในอนาคตต่อๆไป..

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @iseedeadpeople54
    @iseedeadpeople542 жыл бұрын

    เพิ่งมาเจอช่องนี้ โคตรชอบเลยครับ ข้อมูลแน่นถ้วนนัก พูดฟังเพลิน ง่าย

  • @webaneklarp
    @webaneklarp2 жыл бұрын

    ขอขอบคุณ อ.หอย ที่อธิบายเนื้อหาในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชได้อย่างละเอียดดีมากครับ ได้รับความรู้เพิ่มเติมเรื่องภาษาที่ใช้ในหลักศิลาจารึกเพิ่มเติมหลายอย่างที่ดีมากครับ ขอขอบคุณจริงๆครับ/ เอนกลาภ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ ดร.วินัย ท่านทำไว้สมบูรณ์แบบมากครับ

  • @webaneklarp

    @webaneklarp

    2 жыл бұрын

    ผมขอติดตามคลิปของ อ.หอย ต่อไปเรื่อยๆเพราะมีเนื้อหาที่ละเอียดมากกว่ารายการอื่นจริงๆครับ อ.หอยทำการบ้านมาดีทุกคลิปครับ ชอบมากครับ / เอนกลาภ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@webaneklarp ขอบคุณครับ

  • @user-ll6io7xn9t
    @user-ll6io7xn9t2 жыл бұрын

    สุดยอดไปค่ะอจ.และขอบคุณมากๆที่ถ่ายทอดให้ปชช.ได้เรียนขอบคุณผู้นำเสนอเข่นกันเสนอต่อไปๆนะค่ะสู้ๆค่ะอจ.

  • @user-uq3tz3vp4q
    @user-uq3tz3vp4q Жыл бұрын

    เป็นคลิปที่มีประโยชน์แก่คนไทยทุกคน ได้ทั้งความรู้ และความเป็นมาของบรรพบุรุษ

  • @iba-ibo-ibee-ibae4384
    @iba-ibo-ibee-ibae43842 жыл бұрын

    เมื่อก่อนตอนเรียนได้อ่านแค่ด้านเดียวเอง แต่ก็ยังไม่สามารถหาที่มาที่ไปของคำได้ทุกคำเลย ขอบคุณอาจารย์ครับที่ช่วยทบทวนความรู้ และทำให้กระจ่างขึ้นเยอะเลย

  • @user-xf9wz5oq6c
    @user-xf9wz5oq6c Жыл бұрын

    นี่สิถึงจะเป็นสาระวิชาการที่แท้จริง ไม่มโนเอาตามอคติเหมือนคณาจารย์หัวขบถ

  • @Issara87

    @Issara87

    Жыл бұрын

    มันแล้วแต่มุมมอง คุณยังมองไม่เหมือนเขาแต่คิดว่าตัวเองคิดถูกได้เลย ประวัติศาสตร์ก็แบบนี้ เหตุการณ์เดียวกันยังบันทึกต่างกันได้เลย

  • @2499ification
    @2499ification2 жыл бұрын

    ชอบประวัติศาสตร์ คับแต่ไม่มีโอกาสเรียน ต้องขอบคุณ ที่ทำช่องให้ความรู้แบบนี้คับ ขอบคุณมากๆคับ

  • @potpot1915

    @potpot1915

    Жыл бұрын

    ลองหาโอกาสอ่านก่อนนะครับ แล้วท่านก็จะได้เรียนรู้เอง เอาตอนที่สดวก รับรองครับ ท่านจะได้แน่ๆ...คือไม่ต้องเรียนในสถาบันไหนๆหรอก เดี๋ยวนี้มีที่ให้เรียนรู้อยู่รอบๆตัวครับ.....เจริญอารมณ์นะครับ

  • @udomthongchang5483
    @udomthongchang5483 Жыл бұрын

    ซีรี่ย์นี้.. มีค่า, คุณค่ามาก .. ชื่นชมครับ

  • @freever5286
    @freever52862 жыл бұрын

    เป็นช่องทรงคุณค่า​จริงๆ​ ขอบคุณ​พี่หอยครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @immthaifusion8950
    @immthaifusion89502 жыл бұрын

    สุขสันต์วันคริสมาสต์ ขอบคุณมากที่ทำรายการดีๆแบบนี้ ฟินมากๆ ราวกับว่าได้กลับไปเดินทางในอดีตและมีไกด์นำทางที่มีความรู้ สนุกและประเทืองปัญญาจริงๆ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @chalermpolwongwat2865

    @chalermpolwongwat2865

    2 жыл бұрын

  • @immthaifusion8950

    @immthaifusion8950

    2 жыл бұрын

    @@hoyapisak คุณหอย อภิศักดิ์ กรุณาทำเครื่องกรมหลวงโยธาเทพได้ไหม ดูเหมือนท่านจะเป็นสตรีเดียวในประวัติศาสตร์ไทยที่เหมือนจะได้รับการส่งเสริมให้เป็น Queen regent แบบแยบยลมากแม้ไม่สำเร็จ คุณคิดว่าเป็นไปได้ไหม ขอบพระคุณมากๆ หากจะแบ่งปันความเห็น

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@immthaifusion8950 ขอบคุณครับ

  • @sawatk4451
    @sawatk44512 жыл бұрын

    ขอบพระคุณครับๆๆ ที่นำมาให้ศึกษาครับ ขอบพระคุณอีกครั้งครับ

  • @user-uz9zm2lf5y
    @user-uz9zm2lf5y2 жыл бұрын

    โอ๊ยฟังมาถึงวัดสุดท้ายตอนสุดท้ายเป็นภาษาอีสานชัดๆ หน้าประตูเมืองมีกระดิ่งเเขนไว้อันนึง ไม่ใช่อันจึ้ง เข้าใจว่าภาษาอีสานภาษาเขมรยังฝากโอนเงินอยู่

  • @peacefulnloveiswonderful4150
    @peacefulnloveiswonderful4150 Жыл бұрын

    ทำไมเราฟังท่านอาจารย์อ่านจารึก พ่อขุนรามคำแหงแล้วเราฮึกเหิมมากเลยค่ะ ❤❤

  • @beeblackcat91
    @beeblackcat912 жыл бұрын

    ขอบคุณที่ทำ ep ชุด82-85นี้ ครับ กระจ่างแจ้งเยี่ยมเลยครับ เด็กสุโขทัย ก็เพิ่งได้ทราบอย่างละเอียดด้วยชุดนี้แหละครับ 🥰😄🙏

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @beeblackcat91

    @beeblackcat91

    2 жыл бұрын

    @@hoyapisak ติดตามอยู่นะครับพี่ ชอบๆ มากครับ😁🥰😄👍👍👍

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@beeblackcat91 🙏😁

  • @jaoleenyny3685
    @jaoleenyny36852 жыл бұрын

    ตู ในภาษาอีสานบางท้องที่ยังใช้ค่ะ เช่น หมู่ตู หมายถึง พวกเรา

  • @chalitaprasertlah2807
    @chalitaprasertlah28072 жыл бұрын

    เปิดมาเจอโดยบังเอิญ ส่วนตัวชอบเรื่องราวในอดีตมากๆคะ เสียงดังฟังชัดเข้าใจง่ายมาก

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @dearfillings8869
    @dearfillings8869 Жыл бұрын

    เคยเห็นแล้วในพิพิธภัณฑ์ วันหน้ามีโอกาสจะไปเยี่ยมชมอีกครับ ขอบคุณอาจารย์มากครับที่ทำคลิปนี้

  • @boonlaitachaiya2961
    @boonlaitachaiya2961 Жыл бұрын

    ขอบคุณครับสำหรับคลิปดี ๆ นี้ ทำให้คนไทยสนใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ยิ่งในช่วงที่เขมรกำลังทึกทักจะแย่งชิงวัฒนธรรมไปจากไทย

  • @user-xd6bm5db99as
    @user-xd6bm5db99as2 жыл бұрын

    ขอบคุณ คุณหอยมากครับ เป็นประโยชน์แก่นักเรียนมากครับ

  • @krooton_ITTP
    @krooton_ITTP2 жыл бұрын

    สุดยอดเลยครับ เคยได้อ่านแค่ในหนังสือเรียนสมัยประถม ไม่เคยคิดว่าจะได้รู้เนื้อหาทั้งสี่ด้านเลย ขออนุญาตนำไปเผยแพร่ให้นักเรียนเมื่อมีโอกาสนะครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ยินดีครับอาจารย์ ขอบคุณมากครับ

  • @blackaway
    @blackaway2 жыл бұрын

    เลอค่ามากกกกก สื่อการเรียนรู้ชั้นดี กราบขอบพระคุณ ดร. วินัย และ ดร.ตรงใจ มาก ๆ ครับ ที่สำคัญ กราบขอบคุณคุณหอยที่นำมานำเสนอแบบย่อยง่าย ๆ ไว้ใช้สอนนักเรียนได้สบาย ๆ 🙏🙏🙏

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับ 🙏

  • @vhydvvhtch256
    @vhydvvhtch256 Жыл бұрын

    ขอขอบคุณสำหรับความรู้​ที่นำมาเล่าให้ฟังคับ​ ขอบคุณ​มากๆคับ

  • @BoysJrr
    @BoysJrr2 жыл бұрын

    ท่านเก่งมากๆ ที่สามารถคิดค้นและสามารถเขียนออกมาเป็นตัวอักษร มันยากมากการที่จะคิดอะไรแบบนี้ #ขอบคุณที่ทำคลิปออกมาให้ความรู้ดีๆครับมีสาระสุดๆ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @radhanasiri

    @radhanasiri

    2 жыл бұрын

    พื้นที่แถบนี้มีอักษรโบราณใช้อยู่ก่อนแล้วครับ อักษรธรรมแบบ ลาวแถวลานนา เวียงจันทน์ มอน และอักษรขอมด้วยครับ คนที่เรียนชำนาญทางด้านนี้จะสามารถดัดแปลงและคิดเพิ่มให้เป็นเอกลักษณ์แตกต่างเพื่อใช้เหมาะสมเฉพาะถิ่นได้ แต่ไม่ใช่เริ่มเองทั้งหมดครับ ทั้งนี้ไม่ใช่ไม่เก่งนะครับ เมื่อเทียบกับคนยุคนั้นการประกาศใช้ตัวอักษรแบบใหม่เป็นของตนเองก็ต้องมีความเก่งความสามารถริเริ่มมากมายครับ

  • @pupae5097

    @pupae5097

    2 жыл бұрын

    พระปรีชาสวมารถปราชเปรี่องยากนักที่จะหาได้ไนสมัยนั้น

  • @callmeretsu3676

    @callmeretsu3676

    2 жыл бұрын

    ท่านไม่ได้คิดค้นแต่ท่านดัดแปลงมาจากภาษาเขมรโบราณเดิมครับ

  • @alfa9532

    @alfa9532

    2 жыл бұрын

    ยาก จนไม่น่าจะเป็นเรื่องจริง

  • @user-uf5vj2si6x
    @user-uf5vj2si6x2 жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับความรู้ที่เข้าใจยาก พี่หอยทำให้ฟังง่ายเข้าใจง่าย แถมสนุกมากๆ เห็นบ้านเมืองสมัยสุโขทัยเข้ามาในจินตนาการเลยครับ ขอบคุณมากๆครับ เป็นกำลังใจให้พี่หอยทำสิ่งดีๆมีคุณค่าแบบนี้เก็บไว้ให้คนรุ่นหลังได้ชื่นชมต่อไปนะครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @arnornchompumest647
    @arnornchompumest6472 жыл бұрын

    สวัสดีครับ !..ขอบคุณมากครับ คุณ “ หอย “. อภิศักดิ์ ..

  • @naruwatchatphan6241
    @naruwatchatphan62412 жыл бұрын

    กระจ่างแจ้งมากๆ ความรู้รายละเอียดดีมากๆ เปิดมาเจอ ช่องนี้ ขอบคุณมากๆ ได้ความรู้ดีมากๆ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @jittraphornphuntuvech1059
    @jittraphornphuntuvech10592 жыл бұрын

    ฟังแล้ว ขนลุก ใครฟังจารึกแค่1ด้าน รากเหง้าของเรา ได้มาซึ่งบรรพบุรุษแลกมาด้วยเลือดเนื้อ ขอบคุณช่องนี้ subscribed ให้นะคะ อยู่ต่างแดน ภูมิใจเลือดไทย

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @themoon6315

    @themoon6315

    2 жыл бұрын

    ลาวครับ.. พ่อขุนรามคำแหงเป็นลาวกลุ่มหนึ่ง.. คำที่ใช้ก็เป็นคำลาวซะส่วนใหญ่ อันนี้เลี่ยงไม่ได้จริงๆคำว่าลาว😀

  • @youtprem3284

    @youtprem3284

    2 жыл бұрын

    @@themoon6315 ใจเย็นนะครับ ใช้ภาษากลุ่มเดียวกันไม่ได้แปลว่าเป็นคนที่ไหนครับ ลองหาอ่านกลุ่มภาษาไท-กะไดครับ ไม่งั้นชาวจ้วงในจีนจะมาเคลมว่าภาษาไทยคล้ายเขาเป็นของเขาไปอีก "กลุ่มภาษา ไม่ใช่ชาติพันธุ์สัญชาติ"

  • @Nietzs8328

    @Nietzs8328

    Жыл бұрын

    ​​@@themoon6315 คนไตค่ะ ลาวเองก็เป็นคนไตกลุ่มหนึ่งเช่นกัน เลี่ยงไม่ได้เช่นกัน(ทุกที่เรียกตัวเองว่าคนไต/คนไทกันหมดนอกจากลาวกับภาคอีสานไทยซึ่งเป็นแค่บางกลุ่มที่ตั้งชื่อใหม่แยกออกจากไต/ไท) อีกอย่างพ่อขุนรามคำแหงสืบจากสกุลเลืองซึ่งเกี่ยวข้องกับคนไทในเวียดนามค่ะ

  • @nitnit4127

    @nitnit4127

    9 ай бұрын

    ​@@Nietzs8328เผ่าไทในเวียดนามที่ว่า คุณคิดว่าคือ ผู้ไทไหมคะ ผู้ไท คือเผ่าที่มาจากสิบสองจุไท ปัจจุบันสิบสิงจุไทตกเป็นของเวียดนามเหนือภายใต้ช่ื่อเมืองเดียนเบียนฟู

  • @surapornwannasiri1573
    @surapornwannasiri15732 жыл бұрын

    ขอขอบคุณท่านอาจารย์ กับความรู้ที่แบ่งปันเป็น วิทยาทาน ครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @jiwrybar4343
    @jiwrybar4343 Жыл бұрын

    ตอนเด็กๆอิฉันเรียนศึกษาข้อมูลในโรงเรียน ประวัติศาสตร์ของกษัตริย์สยามแต่ก่อนๆ และประวัติของไทย อิฉันชอบมากค่ะ หากได้ไปเมืองไทยอยากจะไปกราบพ่อขุนรามคำแหงสักครั้งค่ะ

  • @tiparatkhongphokha9292
    @tiparatkhongphokha92922 жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆนะคะ อยู่ใกล้หลักศิลายังอ่านออกบ้างไม่ออกบ้าง ได้ความรู้ และได้ศัพท์โบราณแท้ๆอีกด้วยค่ะ มาพิพิธภัณฑ์ แวะมาร้านท้ายวังอีกนะคะ แฟนคลับเลยค่ะ ติดตามทุก EP.

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @cheguevara3687
    @cheguevara36872 жыл бұрын

    ผมเข้าใจโดยที่ไม่ต้องขยายความเลยครับ ผมโตมากับคนเฒ่าคนแก่แถวๆตาก-สุโขทัยหร่ะครับ ก็จะได้คำศัพท์แปลกๆจากคนแก่มาเยอะ😂

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    😁

  • @pannathornarunviphas2035
    @pannathornarunviphas20352 жыл бұрын

    ขอขอบคุณผู้จัดทำทุกท่านค่ะ มีประโยชน์มากค่ะ ขอบคุณมากๆ นะคะ

  • @feli-bp4453
    @feli-bp44532 жыл бұрын

    ช่องนี้ประวัติศาสตร์น่าฟังที่สุดแล้ว มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน เสียงก็ฟังสบาย

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @teerapatnaiyanate5058
    @teerapatnaiyanate5058 Жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับคอนเทนต์ดีๆ ที่ถ่ายทอดความรู้อันทรงคุณค่าแบบนี้มากๆครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    Жыл бұрын

    🙏🏽

  • @user-ss5xq2uo9q
    @user-ss5xq2uo9q2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับฟังสนุกอธิบายมองเห็นภาพเก่าๆได้ความรู้มากมาย ขอให้สุขภาพแข็งแรงนะครับทำคลิปดีแบบนี้ต่อไปครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @paphawinmm.4630
    @paphawinmm.46302 жыл бұрын

    มีหลายคำเป็นคำเมืองภาษาเหนือผมอยู่เชียงใหม่ ฟังแล้วก็รู้ความหมายเลย

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    จริงครับ

  • @wisetsrisakda8011

    @wisetsrisakda8011

    2 жыл бұрын

    คำว่า" บ่ใช่ "คนสะเดียงในตัวเมืองเพชรบูรณ์ยังใช้อยู่จนถึงทุกวันนี้ครับ (คนสะเดียงเพชรบูรณ์เป็นคนพื้นถิ่นโบราณเขาเรียกว่า ไทเดิ้ง ครับเป็นคนกลุ่มเดียวกับโคราชและสุโขทัย)

  • @jrsr665

    @jrsr665

    2 жыл бұрын

    เราคนเมืองบะเก่า คนยอง ชาวเชียงใหม่ เคยฟังคนเฒ่าคนแก่พูดแบบบางคำในจารึก พอฟังแล้วรู้ความหมายพอสมควร รู้สึกสนุกที่ได้รับฟังคลิปอาจารย์ค่ะ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@jrsr665 ขอบคุณครับ

  • @taepadoo5657

    @taepadoo5657

    2 жыл бұрын

    ภาษาเหนือ คือ ภาษา ล้านนา ออกไปทางลาวใช่มั้ยครับ รากศัพท์ น่าจะทางเดียวกัน เหมือน อังกฤษ สวีเดน เเถวยุโรป รากศัพท์เดียวกัน

  • @Droprichder
    @Droprichder Жыл бұрын

    สนุก ได้รับความรู้ ดีมากๆ ครับ

  • @engsanisthachuaysri9577
    @engsanisthachuaysri9577 Жыл бұрын

    สนุกมากค่ะ ขอบคุณแอดที่อ่านและแปลให้ฟังนะคะ จะติดตามจนครบทั้ง4ด้านค่ะ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    Жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @tunwasongsi4028
    @tunwasongsi40282 жыл бұрын

    หลังจากพี่หอยส่งคลิป อธิบาย เรื่องแขวนกระดิ่งหน้าเมืองให้ผมในวันนั้น จนถึงปัจจุบัน ผมฟังสุโขทัยคดี ทุกวันเลยครับ 555 อยุธยาก็มีสเน่ห์แบบนึง สุโขทัยก็ไปอีกอารมณ์ แถมได้ความรู้ด้านภาษาเพิ่มขึ้นด้วยครับ ขอบคุณพี่หอยที่แบ่งปันข้อมูลดีๆให้ไปศึกษาเพิ่มครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ยินดีครับ ขอบคุณครับ

  • @helraizerhhv888ukulele8
    @helraizerhhv888ukulele82 жыл бұрын

    เปนความรู้ทางประวัติศาสตร์...จะได้รูปแบบภาษาไทยยุคแรกเป็นยังไงเพราะรูปการเขียนเเบบเรียงบรรทัดต่อกันเลยไม่ได้เขียนเหมือนในยุคปัจุบันที่สระหรือวรรณยุกต์เอาไว้ข้างบนหรือล่างและคำบางคำเรากัอไม่เข้าใจ

  • @yimrossukhone885
    @yimrossukhone8852 жыл бұрын

    คำที่เข้าใจได้ง่ายมากคำหนึ่งและไม่น่าเป็นประเด็นเลย คือคำว่า ลู่ทาง,ลุตาง,ลูต่าง, แปลว่าสะดวก ครับ ทุกวันนี้ยังใช้อยู่ ในประโยค ที่ใช้คำนี้ ก็แปลประมาณว่า ไม่เก็บภาษีสะดวกสบาย ใครจะค้าขายอะไรก็ได้ ซึ่งก็เป็นประโยคที่สมบูรย์ชัดเจน สอดคล้องกับข้อความในประโยคก่อนหน้าและถัดไปด้วย

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับความเห็นครับ

  • @yimrossukhone885

    @yimrossukhone885

    2 жыл бұрын

    @@hoyapisak เป็น FC พี่หอยครับ ติดตามมานาน ได้ความรู้ใหม่ๆ จากช่องนี้เยอะมากครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@yimrossukhone885 ขอบคุณครับ 🙏😁

  • @honeyhoneybee28
    @honeyhoneybee282 жыл бұрын

    ชอบเสียงบรรยายนะคะ ฟังดูน่าสนใจ ขอบคุณสำหรับความรู้ด้วยค่า /จากครูสังคม

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @iamfirst2076
    @iamfirst20762 жыл бұрын

    ขอบคุณที่นำความรู้ดีๆ มาแบ่งปันนะคะ คราวหน้าถ้าใครถามว่าของดีสุโขทัยคืออะไร เราจะตอบว่าพี่หอย อภิศักดิ์ 😆

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ (รู้สึกเหมือนตัวเองเป็นละมุด กับเครื่องสังคโลกเลยครับ 🤣🤣🤣)

  • @Test-sd8xx
    @Test-sd8xx Жыл бұрын

    อธิบายได้ละเอียดมากครับ ฟังแล้วมองเห็นภาพเลย ใช้ภาษาได้ดีมากครับ ได้ความรู้ดีครับ

  • @panidadamapong9521
    @panidadamapong95212 жыл бұрын

    นำ้เสียงชัดเจน น่าฟัง ชอบเวลาคุณหอยอ่านต้นฉบับ ทำเสียงขึงขังดูเด็ดขาดน่าฟังค่ะ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @thanoorittesiriboon3215
    @thanoorittesiriboon32152 жыл бұрын

    เป็นสุดยอดของการถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลทั่วๆไปจริงๆครับ ฟังเข้าใจง่ายได้ความรู้แน่นมากครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @suriyapongthanakittikasem4611
    @suriyapongthanakittikasem46112 жыл бұрын

    ขอบคุณที่ทำคลิปนี้ครับเป็นประโยชน์มาก ขอบคุณแทนคนสุโขทัย และคนไทยครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @user-wk9tg3zm2s
    @user-wk9tg3zm2s2 жыл бұрын

    ชอบพระที่จารขึ้นคอ เป็นพระที่สวยงามจริงๆครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    🙏🙏🙏

  • @oehhsamsib2902
    @oehhsamsib2902 Жыл бұрын

    พ่อขุนศรีอินทราทิตย์กษัตริย์พระองค์นี้คือกษัตริย์สายเลือดขอมใช้ภาษาขอม เเต่เมื่อพ่อขุนรามคำเเห่งเเห่งสุโขทัยประดิษฐ์ลายสือไท เราก็เลิกใช้อักษรขอมหรือภาษาไทละโว้เตั้งเต่นั้นมาครับ

  • @dussaneekhengpimon625
    @dussaneekhengpimon6252 жыл бұрын

    เป็นรายการที่ให้ความรู้ที่มีคุณค่า เด็กรุ่นหลังสนใจบ้างหรือเปล่าหนอ เทือกเถาว์เหล่ากอของเรารากเหง้านั้นมาจากไหน ฟังแอดมินเล่าไป หนูก็จินตนาการไปสมัยสุโขทัยนั่นเลยค่ะ อินมากๆ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @Aunzalambretta

    @Aunzalambretta

    2 жыл бұрын

    ต้องถามตัวคุณครับว่าอยู่จังหวัดแถวไหน เพราะสุโขทัยก็ไม่ใช่ที่หลักแล้ว

  • @thanetuathawisamphun9597
    @thanetuathawisamphun95972 жыл бұрын

    แพ้=ชนะ ตรงกับภาษาล้านนา แป้=สู้ได้,สู้ไหว ภาษาไทยโบราณคือภาษาล้านนา สำเนียงสันสกฤต

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @yimrossukhone885

    @yimrossukhone885

    2 жыл бұрын

    ต้องเรียกว่าภาษาล้านนายังคงรักษาภาษาไทยโบราณไว้ครับ

  • @tesstess5198

    @tesstess5198

    Жыл бұрын

    คนแก่แถวอีสานชอบพูดบาปไม่แพ้บุญ

  • @user-vq1rc2kn2k

    @user-vq1rc2kn2k

    Жыл бұрын

    ​@@hoyapisak ภาษาลาวลา้นช้างก็ว่าแพ้เหมือนกันคนเฒ่าคนแก่สมัยเมือ6070ที่แล้วชะนะก็ว่าแพ้คือกัน

  • @kisstipna

    @kisstipna

    Жыл бұрын

    ขอบคุณความเห็นนี้ ...จากครูไทยค่ะ

  • @user-pb7tf7ii3c
    @user-pb7tf7ii3c Жыл бұрын

    ดีมากครับ เป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่ได้สาระและเป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษาไทย มากๆ..

  • @user-wf7nr5qz3h
    @user-wf7nr5qz3h2 жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับรายละเอียดความรู้ครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @neetlikitkhom266
    @neetlikitkhom2662 жыл бұрын

    สุดยอดครับ ชอบมากครับ🙏👍 เด็กคนรุ่นใหม่ๆแบบผมน้อยคนจะได้รู้เรื่องแบบนี้

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @pichaisukarasoji7658
    @pichaisukarasoji76582 жыл бұрын

    ขอบคุณจริงๆ ที่นำมาลงเผยแพร่ จะเก็บไว้ฟังหลายๆ ๆ ๆ รอบ ไม่เคยทราบเลยว่า ภาษาพ่อขุนรามจะงดงามเช่นนี้ ไม่ใช่ มึงกู อย่างเข้าใจเลย !

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @pichaisukarasoji7658

    @pichaisukarasoji7658

    2 жыл бұрын

    @@hoyapisak เรียนถามด้วยความสนใจหลังจากโดนจุดประกาย ด้วยหน้า 1 ของศิลาจารึกหลักที่ 1 นี้ (เพราะคุณอภิศักดิ์ บรรยายได้ออกรสชาติมากๆ ) เวลาไปอ่านเองจากหนังสือจะจืดๆขาดสีสรร 1. มีข้อศึกษาจากนักวิชาการหลายฝ่ายว่าศิลาจารึกนี้ ไม่แท้ มีการใช้อักขระและพยัญชนะเกินกว่า อักขระมีในยุคโน้นหลายๆตัว 2.ขนาดของกรุงและของเมืองที่กล่าวถึงในจารึกเป็นขนาดในยุคหลัง ที่อาณาเขตเมืองขยายแล้ว ทั้งเหนือ ใต้ ตัวอย่างข้อค้านทำนองนี้ คุณอภิศักดิ์ ซึ่งผมคาดว่าคงเคยได้ยินมาเช่นกัน มีความเห็นอย่างไร บ้าง ? "แต่คลิปบรรยายอีก 3 ด้าน ผมก็ยังเฝ้าติดตามอยู่นะครับ ! " ep. 83 84 85 แวะเวียนมาดูว่ามาหรือยัง ? ขอบคุณครับ

  • @user-xh1cc7xf4k

    @user-xh1cc7xf4k

    Жыл бұрын

    O

  • @chomphon1957
    @chomphon19572 жыл бұрын

    เลื่อนมาเจอโดยบังเอิญ รุ้สึกช่องนี้เป็นช่องที่น่าฟังเเละน่าศึกษามาก

  • @gobop2872
    @gobop2872 Жыл бұрын

    เข้าใจเลยว่าทำไมคนไทยถึงมีวัฒนธรรมที่หลากหลายครับ คนไทยเป็นชาติที่ภาษามีเอกลักษณ์มากสุด

  • @loongchai5965
    @loongchai59652 жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับอาจารย์รอ EP ต่อไปครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @burmkung
    @burmkung2 жыл бұрын

    สุดยอดเลยคับพี่หอย เอาEPต่อไปมาขึ้นเร็วๆนะคับ อยากดูต่อแล้ว

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @birdmajor
    @birdmajor Жыл бұрын

    ผมเคยได้ทำเรื่องขอเข้าไปถ่ายศิลาฯ ของจริงมาแล้ว ดูขลังดี

  • @kawinatpnk985
    @kawinatpnk9852 жыл бұрын

    ขอบคุณคุณหอยมากนะคะสำหรับการอ่านและการแปลศิลาจารึกฉบับนี้ให้ฟังนะคะ เข้าใจได้ละเอียดดีมากค่ะ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @teeraphanj
    @teeraphanj2 жыл бұрын

    ผมคนลำพูน ผมว่าศิลาจารึกนี้ มีสำเนียงทางเหนืออยู่มาก หรือเพราะว่าสุโขทัยก็อยู่ในภาคเหนือ เจ้าฟ้ามหากษัตริย์ก็อาจจะพูดสำเนียงแบบเหนือ คำว่า "อันณึ่ง , บ่ , เมือ" นี่คือคำทางเหนือที่ยังพูดกันอยู่ คำว่า เมือ บ้านผมอาจจะหมายถึง ไป เช่น จะเมือบ้าน แปลว่า จะไปบ้าน หรือ จะเมือก่ แปลว่า จะไปไหม หรือคำว่า บ่เมือบ้านบ่เมือจอง แปลว่า ไม่กลับบ้านไม่กลับช่อง" สำเนียงไทลื้อ ไทยอง ไทใหญ่(ไตโหลง) จะออกเสียงเป็น "เมอ" คำว่า "แพ้" ทางเหนืออกเสียงเป็น "แป้ " แปลว่า ไหว เช่น ยกแป้ก่ หมายถึง ยกไหวไหม แต่ถ้าทางการต่อสู้ แข่งขัน แป้ จะแปลว่า ชนะ แต่คนสมัยใหม่ ถึงจะออกเสียงเป็น แพ้ หรือ แป้ ก็จะหมายความเดียวกันคือ แพ้ พ่าย

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ ค่ำนี้เจอกัน 1 ทุ่มตรงครับ kzread.info/dash/bejne/f2F6tdewZ7XPitI.html

  • @made-in-thailand99

    @made-in-thailand99

    2 жыл бұрын

    เมื่อก่อนชาวไทพูดแบบนี้แต่ทุกวันนี้มันคือเอาคำเขมรและอื่นๆมาปน+สำเนียงกรุงเทพเข้ามาซึ่งเป็นภาษาใหม่ไม่ใช่โบราณ

  • @taepadoo5657

    @taepadoo5657

    2 жыл бұрын

    รากศัพท์เดียวกัน ล้านนา ลาว ผมคิดว่านะ

  • @teeraphanj

    @teeraphanj

    2 жыл бұрын

    @@taepadoo5657 ก็คงภาษาตระกูลไทเหมือนกัน

  • @taepadoo5657

    @taepadoo5657

    2 жыл бұрын

    @@teeraphanj ครับ เเบบ ภาษาอังกฤษ เยอรมัน สวีเดน อะไรพวกนั้น ก็มีจะมีรากศัพท์ เดียวกันมาก่อนเเล้วค่อย เเยกออกไป

  • @e2style330
    @e2style3302 жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับความรู้มากๆเลย คำบางคำได้ยินแต่ไม่รู้ความหมาย แต่ก็มารู้ในช่องนี้หลายคำเลยครับ #e2style

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @user-px5uo8iv2z
    @user-px5uo8iv2z Жыл бұрын

    ด้วยความเคารพครับ ผมฟังข้อมูลมาจากอีกฝั่ง เขาว่าจารึกดังกล่าว เป็นการสร้างเรื่องขึ้นในภายหลัง(น่าจะยุครัตนโกสินทร์) ไม่ได้ถูกสร้างในยุคสุโขทัยจริงๆ จริงเท็จประการใด โปรดชี้แนะผมด้วยครับ ขอบคุณครับ

  • @seeharachsriwilaimak5269
    @seeharachsriwilaimak52692 жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆที่มาอ่านให้ฟังครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @somkiataeetimpratum5585
    @somkiataeetimpratum55852 жыл бұрын

    ขอบคุณความรู้ทีมอบให้นี้มากๆครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @cheermoophornsawan7985
    @cheermoophornsawan79852 жыл бұрын

    ติดตามตลอดค่ะ ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆนะคะพี่หอย

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @neetlikitkhom266
    @neetlikitkhom2662 жыл бұрын

    "ไพร่ฟ้าหน้าใสพ่อกู หนีญญ่ายพายจแจ้น" คำว่าหน้าใสนี้ผมงงมาตัังนานว่าคืออะไร หน้าใสๆ และทำไมต้องใช้คำนี้ คำว่าหน้าใส พึ่งมาถึงบ้างอ้อเอาวันนี้ ว่าคำว่า หน้าใส หมามความว่า "ความสุข" ขอบคุณครับ 🙏 แปลเป็นปัจจุบันคือ ไพร่ฟ้าที่เคยมีความสุขของพ่อกู 👍

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @user-km3km2wf2q
    @user-km3km2wf2q2 жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับ/ด้านที่สอง..รอครับ👍👍👍👍👍

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ค่ำนี้เจอกัน 1 ทุ่มตรงครับ kzread.info/dash/bejne/f2F6tdewZ7XPitI.html

  • @suwannachannel4211
    @suwannachannel42112 жыл бұрын

    คำว่า เผือ ปัจจุบันอำเภอเรายังใช้อยู่นะตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย ใช้อยู่ทุกวัน ใช้แทนคำว่าพวกเรา(สองคนขึ้นไป) เช่น ไปนำเผือบ่(ไปกับพวกเราไหม) นอกจากนี้ยังมี ยกแพ้บ่(ยกไหวไหม ยกขึ้นไหม) เอาพ่ายออก...(เอาย้ายออก เอาหนีออก เอาออก) หามาสู่น้องกิน(หามาให้น้องกินแบบว่ากินด้วยกัน) มาช่อยแม่(มาช่วยแม่ ส่อยแม่ ซ่อยแม่ ช่อยแม่) ไปหยังหั้น กินหยังหั้น อยู่หั้น(ไปอะไรนั่น กินอะไรนั่น อยู่นั่น) อยู่เถิงบ่(อยู่นานไหม) มาเถิงจักโมง(มาถึงกี่โมง) เมือบ้านเฮา(กลับบ้านเรา) // ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆจ้า😅

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @user-lx4we9qv6f

    @user-lx4we9qv6f

    2 жыл бұрын

    คนเลยใช้ครับ คำว่า เผือ หรือ เผีย และบรรพบุรุษของพ่อขุนราม ก็มาจากแคว้นโยนก พอโยนกแตก ก็อพยพลงมาตั้งถิ่นฐานที่ จ.เลย และหลวงพระบาง ก่อนจะย้อนกลับไปตั้งเมืองสุโขทัย มรดกทางภาษาก่อนที่พ่อขุนรามจะประดิษฐิ์อักษรขึ้นมาใหม่ จึงยังอยู่กับคนเมืองเลย เพขรบูรณ์ และอีกหลายอำเภอในแระเทศไทย

  • @user-co6no7tq6i
    @user-co6no7tq6i2 жыл бұрын

    ติดตามตลอดครับอาจารย์.ขอบคุณมากๆทร่ให้ความรู้

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @asztvc9901
    @asztvc9901 Жыл бұрын

    น้อมเคารพท่านคณะอาจารย์ผู้จัดทำสื่อเชิงวิชาการทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ชาติไทยอันมีคุณค่าและประโยชน์อย่างยิ่งครับ ขอขอบพระคุณท่านวิทยากรผู้ดำเนินรายการอย่างสูงครับ สาธุขออนุญาตนำไปเผยแผ่ต่อครับผม

  • @user-qm4mg6fn5z
    @user-qm4mg6fn5z2 жыл бұрын

    ดีครับ ดีจริงๆครับ เด็กสมัยนี้ไม่สนใจประวัติศาตร์กันเลย ชอบมากๆครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @wassanaboriparak9381
    @wassanaboriparak9381 Жыл бұрын

    ลูท้าง หรือ ดูต้าง.เทียบภาษาลานนา,เหนือ.หมายถึงจะกระทำการใดๆก็ได้ตามความความสะดวกสบายๆค่ะ.😄.

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    Жыл бұрын

    ข้อนี้น่าสนใจมากครับ

  • @wassanaboriparak9381

    @wassanaboriparak9381

    Жыл бұрын

    เช่นคำว่า.ดูต้างแอ่ว,ดูต้างขาย,ดูต้างไป,ดูต้างแป๋ง,ดูต้างกิ๋น.ฯลฯ.ใช้เป็นคำนำหน้าได้ทั้งในรูปประธาน,กริยา,กรรม. .#เป็นคำเปิดที่มีความหมายให้รู้ว่า."มีความสะดวกสบายในการทำสิ่งใดๆด้วยความสะดวกสบายใจมากๆ.นั่นเองค่ะ.😊

  • @sasithornkhukhankhet5600
    @sasithornkhukhankhet5600 Жыл бұрын

    เคยเรียนตอนป.5-ป.6แต่ขอบอกสมัยนั้นความรู้แน่นมากค่ะ

  • @user-rx3yo9qj8v
    @user-rx3yo9qj8v2 жыл бұрын

    ขอบคุณที่ให้ความรู้เรื่องมีสาระ​ เป็นเรื่องที่อยากรู้ค่ะ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @user-pr9vy1oc8s
    @user-pr9vy1oc8s2 жыл бұрын

    ทรงคุณค่าเหนือใจจริงๆครับ❤️

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    🙏🙏🙏

  • @user-pr9vy1oc8s

    @user-pr9vy1oc8s

    2 жыл бұрын

    @@hoyapisak ผมฟังไปน้ำตาไหลไปเลยครับคุณหอย ภาคภูมิใจในภูมิปัญญาอันชาญฉลาดของบรรพบุรุษของเรามากๆครับ หลายสิ่งหลายอย่างมนจารึกหลักนั้น ตกทอดมาสู่อนุชนรุ่นหลังเป็นหลักกฎหมายที่เราใช้กันอยู่ในทุกๆวันนี้ กราบขอบพระคุณคุณหอยมากๆครับที่นำสิ่งนี้มาเผยแพร่ให้เราเข้าใจตนเองมากขึ้น ว่าพวกเราเป็นใครมาจากไหนและจะอยู่ในประชาคมโลกต่อไปยังไงครับ🙏❤❤❤

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@user-pr9vy1oc8s ขอบคุณครับ

  • @sorayathanajaro373
    @sorayathanajaro3732 жыл бұрын

    ได้ยินคนภาคเหนือ ชอบพูดกันว่า หมากป้าว (พร้าว) หมากลาง คำว่า ลาง เข้าใจมาตั้งนานว่าเป็นคำสร้อยของมะพร้าว ที่แท้เป็นชื่อเรียกขนุน นี่เอง ขอบคุณครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ มันเป็นข้อสันนิษฐานนะครับ

  • @tiansayfalab1549

    @tiansayfalab1549

    2 жыл бұрын

    นาที่ 27.56 ขอแสดงความคิดเห็น ด้วยความเคารพครับ "ป่าลาง" น่าจะหมายถึง ลางสาด เป็นไม้ผลชื่อดังของลับแล คู่กับทุเรียนมาช้านาน (ผมอายุ 57 ปี เป็นคน อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์ พื้นที่ติดกับสุโขทัย ศรีสัชนาลัย ของ จ.สุโขทัย แม้ภาษาส่วนใหญ่ปัจจุบันของคนลับแลจะเป็นภาษาล้านนาหรือภาษาเหนือหรือคำเมือง แต่ยังคงมีหลายคำที่ใช้คำเช่นเดียวหรือเหมืนกับคำในหลักศิลาจารึกนี้ครับ เช่น บ่หนี /ไม่หนี, หั้น/นั่น,เมือ/มา )

  • @RedRose2124rd

    @RedRose2124rd

    2 жыл бұрын

    ยายผมมีเชื้อสายมาจาก ไชยบุรีย์ ฝั่งลาว (ถ้ายายยังมีชีวิตอยู่ตอนนี้ ยายจะอายุ 106 ปีละ )ตอนผมเด็กๆได้ยินยายชอบพูดคำสร้อยเป็นประจำ คำว่า ลาง ยายจะใช้ร่วมกับหมากพร้าวนี่แหละ หมากพร้าวหมากลาง จะใช้แค่นี้ ไม่มีใช้กับขนุนครับ ผมคิดว่า น่าจะเป็นคำสร้อยของหมากพร้าวมากกว่าครับ...(ผมเองเป็นลูกหลานพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ครับ เดิมทีเรียก พ่อขุนบางกลางหาว)

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@RedRose2124rd 😁

  • @user-cx5rb3ol3g
    @user-cx5rb3ol3g Жыл бұрын

    คุณทำคลิปออกมาให้พวกเราคนไทยได้ดูได้อ่านได้หังเล่าที่คุณเล่ามาม.ทำใหพวกเราชาวไทยได้รับประโยชน์มาก.โดยเฉพาะเด็กเรียนวัยรุ่น.ให้เขาได้อ่าน.ได้ฟังเล่าบ้าง้ขาจะกะตือรือล้น.สนใจความเป๋นมาของบรรพบุรุษของไทยบ้าง

  • @user-gr9uj1ho1p
    @user-gr9uj1ho1p Жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะ มีประโยชน์มากค่ะ ติดตาม ค่ะ แชร์แล้วค่ะ

  • @user-ui5lr7zo4y
    @user-ui5lr7zo4y2 жыл бұрын

    จารึกพ่อขุนรามแม้จะใช้อักษรขอมประยุกต์..แต่คำและสำเนียงฟังแล้วมันคือคำลาวโบราณเกือบทั้งหมด...ต่างจากคำไทยเสียงไทยในปัจจุบันที่พัฒนามามากจากตรงนั้น

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    😁

  • @yimrossukhone885

    @yimrossukhone885

    2 жыл бұрын

    คำที่เรียกว่าคำลาวโบราณ หรือภาษาเหนือ นั่นแหละคือภาษาไท แท้ครับ คำไทยในปัจจุบัน มีคำไทแท้น้อยมาก เพราะรับเอาทั้งภาษาสันสกฤต เขมร ,จีน มาใข้แทนคำไทแท้ ส่วนภาษาถิ่นทั้ง ลาว ล้านนา รัฐฉาน จะยังคงใช้อยู่ มากกว่าภาษาไทย ที่เราใช้กันอยู่วันนี้ครับ

  • @0852966265

    @0852966265

    Жыл бұрын

    กล้าใช้คำว่าลาวโบราณ แล้วรู้มั้ยว่าลาวโบราณคือใคร? บรรพบุรุษลาวมาจากไหน? จะมีคนลาวบางพวกที่คิดว่าตัวเองเป็นต้นกำเนิดทุอย่างแถบนี้ และเขมรบางส่วนก็คิดแบบเดียวกัน ทั้งที่ความจริง เราเอามาจากขอมฮินดู และสมัยพุทธศาสนาเข้ามาก็ได้รับมาจากอินเดียและสันสกฤต ทำให้ผสมจนมาถึงวันนี้และบางคำที่เห็นในจารึกนี่คือคำไท ที่เราเลิกใช้ไปตามยุคสมัย แต่ถามว่าพอแปลได้มั้ย ก็แปลได้แหละมันอยู่ในสายเลือดเราทุกคน ไทลื้อ ไทยวน ไทเขิน ล้วนเป็นไท รู้ดีแล.

  • @user-lz4pq6pr6z

    @user-lz4pq6pr6z

    Жыл бұрын

    มาจากภาษาลาวกุหล่า

  • @Nietzs8328

    @Nietzs8328

    Жыл бұрын

    คำลาวโบราณที่ว่าคือภาษาไตค่ะ คนไตกลุ่มอื่นก็ยังใช้กันอยู่(เขาไม่เรียกตัวเองว่าลาวนะคะ เขาเรียกตัวเองว่าคนไต/ไทค่ะ ลาวที่ว่าก็เรียกไม่กี่กลุ่มเท่านั้น)

  • @user-lf2eh3hu5d
    @user-lf2eh3hu5d2 жыл бұрын

    ขอให้พี่มีสุขภาพแข็งแรงนะครับ จะได้ทำคลิปไปนานๆ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับ

  • @davidpollapat5815
    @davidpollapat58152 жыл бұрын

    ขอบคุณมากครับผม คลิปนี้ดีและทรงคุณค่ามากๆ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @kriengkrairawangklang2791
    @kriengkrairawangklang2791 Жыл бұрын

    อายุครึ่งร้อยแล้ว เพิ่งได้อ่านทั้งสี่ด้านครับ เป็นบุญครับ ที่ได้อ่านครบทั้งสี่ด้าน จะได้ไม่เสียชาติเกิดที่ได้เกิดบนแผ่นดินไทย

  • @Kanivoratv
    @Kanivoratv2 жыл бұрын

    อยากให้ใส่ภาพ ตัวหนังสือบนหลักศิลาประกอบด้วย อยากเห็นว่าตัวหนังสือต่างกับปัจจุบันมากมั้ยครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    อันนั้นเกินระดับสติปัญญาของผมครับ

  • @user-vv1wb2ec5e

    @user-vv1wb2ec5e

    2 жыл бұрын

    @@hoyapisak ถ้าถ่ายใกล้ๆชัดๆ ตัดมาเป็นวรรคๆ เทียบกัน น่าจะทำได้นะครับอาจารย์ ติดตามคลิปอาจารย์ทุกตอนด้วยความนับถือและขอบพระคุณมากๆครับ

  • @WhoamI-cy1vg
    @WhoamI-cy1vg2 жыл бұрын

    สุดยอดมากครับ!!!!!!!

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @jansuwannala5240
    @jansuwannala52402 жыл бұрын

    ขอบคุณค่ะ ฟังเพลินเลย ชอบประวัติศาสตร์

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @user-xb3ds1wr5h
    @user-xb3ds1wr5h Жыл бұрын

    มีบรรจุหลักสูตร แบบเรียนสมัยเก่าครับ ใครเคยเรียนมานี มานะ ปิติชูใจ ก็จะได้เรียนศิลาจารึกนี้ทุกคนครับ มายุคหลังรัฐบาล ได้ลบหลักสูตรนี้ออกไป ทำให้คนไทยไม่เข้าใจ ความเป็นมาของบรรพบุรุษ ทำให้ขาดความรักชาติ ศาสนา กษัตริย์ ไป (จะได้ล้างสมองง่ายๆ)😂

  • @sakdinanthachaisuwanmaleep7063
    @sakdinanthachaisuwanmaleep70632 жыл бұрын

    ป่าพร้าว ภาคใต้ก็ยังใช้อยู่ครับ 🙏

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @thibodis
    @thibodis2 жыл бұрын

    ค่อยๆ ฟังครับ กลัวจบเร็ว คลิปนี้มีคุณค่ามากครับ มีหลายคนที่เชื่อว่าหลักนี้สร้างในสมัย ร. 4 แต่เหมือนกับเนื้อหาสอดคล้องกับจารึกสบถปู่หลานที่คุณหอยเคยกล่าวไว้ในคลิปใดคลิปหนึ่งนี่แหละครับ ส่วนตัวผมก็เชื่อว่า ร.4 ไม่ได้เป็นผู้ทำขึ้น แต่ทำในสมัยพ่อขุนรามหรือเปล่า อันนี้ยังไม่รู้ครับ

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @jamekinro2850

    @jamekinro2850

    2 жыл бұрын

    ทฤษฎีที่อ้างว่าสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ ของ รศ. ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ เช่น อ้างว่าเพื่อป้องกันชาติอาณานิคม มันมีน้ำหนักน้อยมากเมื่อเทียบกับหลักฐานที่บ่งชี้ว่าสร้างขึ้นในสมัยสุโขทัยจริงครับ หลักฐานสำคัญคือ จารึกหลักที่ ๑๐๗ หรือ จารึกวัดบางสนุก พบที่อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ซึ่งมีรูปแบบตัวอักษรตรงกับจารึกพ่อขุนรามคำแหง และจารึกนี้เพิ่งค้นพบเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๙ จึงเป็นไปไม่ได้ที่รัชกาลที่ ๔ จะเคยเห็น เพราะฉะนั้นข้ออ้างที่ว่าจารึกพ่อขุนรามคำแหงไม่เหมือนจารึกอื่นๆ จึงถูกตีตกไป นอกจากนี้จารึกพ่อขุนรามคำแหงก็มีเนื้อหาที่สัมพันธ์กับจารึกสุโขทัยที่ค้นพบหลังรัชกาลที่ ๔ หลายหลัก เช่น จารึกวัดศรีชุมที่พบใน พ.ศ. ๒๔๓๐ หรือจารึกปู่ขุนจิดขุนจอดที่พบใน พ.ศ. ๒๔๙๙ ซึ่งลำดับเครือญาติของพ่อขุนรามคำแหงสอดคล้องกับจารึกพ่อขุนรามคำแหง

  • @hoyapisak

    @hoyapisak

    2 жыл бұрын

    @@jamekinro2850 👍😁

  • @radhanasiri

    @radhanasiri

    2 жыл бұрын

    หลักศิลาจารึก เป็นของโบราณแน่นอนครับ และการที่ ร.4 ไปพบนั้นเข้าใจว่าท้องถิ่นเขารู้การมีอยู่ เห็นว่าเป็นอักษรโบราณกันอยู่แล้ว แต่รู้แค่เป็นเพียงศิลาจารึก ทั้งอาจไม่เห็นคุณค่าในเชิงประวัติศาสตร์ เพราะยุคนั้นไม่มีการศึกษาเขียนอ่านเป็นแบบแผนแพร่หลายทั่วถึงแก่คนทั่วไป มีเพียงในวัดในวังเท่านั้น คนส่วนใหญ่เป็นชาวบ้านธรรมดาๆเดินมาร้อยคนเขียนชื่อตัวเองถูกสักสองคนก็เยอะหละ ท่านจึงนำมาถอดความเพื่อสืบสาวย้อนกลับไป กลายเป็นจุดเริ่มต้นการศึกษาประวัติศาสตร์ของไทยที่คลาสสิคมากๆ

Келесі