เศียรใหญ่ คือ พระศรีสรรเพชญ ? ปลุกวงการประวัติศาสตร์ให้ตื่นอีกครั้ง I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.37

ไม่มีคำอธิบาย มากไปกว่าการได้ชม แล้ววิเคราห์ตามไปค่ะ
#เศียรใหญ่ #พระศรีสรรเพชญ

Пікірлер: 838

  • @najkabin2028
    @najkabin20283 жыл бұрын

    นี่แหละการถกทางวิชาการต้องว่าด้วยเหตุผล ชื่นชมทั้งสองอาจารย์ ใครจะจริงหรือไม่จริงต้องหาข้อพิสูจน์ต่อไป เพราะทุกคนตามรอยอดีตที่เกิดไม่ทัน

  • @anus5768
    @anus57682 жыл бұрын

    เคยเรียนกับ อ.พิชญา ที่คณะวิจิตรศิลป์ มช. วิชาประวัติศาสตร์ศิลป์ ดุบ้างแต่บรรยายไม่มีเบื่อครับ อาจารย์สอนเรื่องการวิเคราะห์พระพุทธรูปตามหลักประติมากรรมได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน และหลักฐานที่เป็นรูปธรรม ได้อย่างชัดเจนกระจ่างแจ้ง กราบในองค์ความรู้ครับ

  • @surasakTwong
    @surasakTwong3 жыл бұрын

    นี่คือ การโต้แย้งทางวิชาการ อย่างแท้จริง ขอบคุณ อ.ทั้งสองที่จะทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์ ก้าวไปอีกขั้นหนึ่ง

  • @sittisakhamsurintra4284
    @sittisakhamsurintra42843 жыл бұрын

    เศียรใหญ่ไม่ใช่พระยืนแน่นอน น่าจะเป็นปรางสมาธิมากกว่า เพราะอะไร เพระพระยืนที่มีเศียรใหญ่ น้ำหนักจะไม่สมดุลง่ายแก่การล้ม พระยืนตามหล้กสมุดลจะต้องมีเศียรที่เรียวแหลมมากกว่าจะเป็นเศียรที่ใหญ่และมีน้ำหนักมาก

  • @phaitoonp5762
    @phaitoonp57623 жыл бұрын

    อีกคนพูดด้วยความคิดตัวเองล้วนๆ อีกคนพูดด้วยวิชาการ เอกสาร สูตรการคำนวณ พระสูงขนาดไหนเราก็สร้างหลังคาครอบได้ สังเกตุดูแล้วพระนั่งหน้าอ้วน พระยืนหน้ายาวครับ

  • @Channel-ci8gh
    @Channel-ci8gh3 жыл бұрын

    คนสมัยก่อนเขามีศอกหลวงครับ พ่อผมสอนใว้ศอกหลวง สำหรับคนเตี้ยให้เอา1ศอกกับ1ฝ่ามือ สำหรับคนสูงให้เอา1ศอกกับ3นี้วมือแป็ะ คือประมาณ50ซนติเมตร 1วา=2เมตรหรือ4ศอกครับ ไม่ใช่เอาศอกเรานะครับ

  • @user-gk3ny4sq6d
    @user-gk3ny4sq6d

    เศียรพระยืน รูปใบหน้าคงไม่อวบแบบนี้ อันนี้เศียรพระนั่งปางสมาธิ เชื่อว่าพระยืนใบหน้าคงผอมนิดนึง

  • @user-xt7tf9bn2b
    @user-xt7tf9bn2b3 жыл бұрын

    ผมขอถามนะครับถ้าเศียรพระนี้เป็นของพระศรีสรรเพชญ์จริงทำไม่ร.1จึงไม่นำมากรุฃเทพเพราะพระศรีสรรเพชญ์ ยิ่งใหญ่และสำคัญมากในอยุธยา

  • @jirachotephattaranawik4006
    @jirachotephattaranawik40063 жыл бұрын

    สุดยอดครับ โคนันประวัติศาสตร์กันเลยครับ สนุกมาก โต้กันด้วยเหตุและผล หลักฐานชัดๆ ได้ความรู้มากครับ ขอบคุณ อ ทั้งสองท่านครับ

  • @panujai4613
    @panujai46133 жыл бұрын

    ผมเห็นด้วยกันอาจารย์พิชญา เศียรใหญ่ไม่น่าจะใช่พระศรีสรรเพชรจากการคำนวนหลายๆอย่าง และบวกกับไปฟังอาจารย์ตุ๊ก บางปะอิน คิดว่า เศียรใหญ่เป็นพระนั่งมากกว่า ผนวกกับหน้าตาเศียรพระที่กลมแป้นซึ่งมักสร้างในพระทรงนั่ง ส่วนพระศรีสรรเพชรที่เป็นพระยืนหน้าตาน่าจะรียาวตามสัดส่วน

  • @K.Paula27
    @K.Paula272 жыл бұрын

    ไม่เคยคิดเลยว่าการฟังนักวิชาการโต้แย้งกันจะสนุกขนาดนี้

  • @tutulakornphong8564
    @tutulakornphong85643 жыл бұрын

    เคยคิดเหมือนกัน ว่าถ้าเศียรใหญ่ขนาดนี้ ถ้าองค์พระสมบูรณ์จะยิ่งใหญ่ขนาดไหนครับ คงจะงดงามมากครับ แผ่นดินไทยงดงามจริง ๆ พระเจดีย์วัดเชตุพนสวยงามมากครับ ภูมิใจที่ได้เกิดมาเป็นคนไทยครับ รักเมืองไทย

  • @Sakurai1999
    @Sakurai19993 жыл бұрын

    เหตุผลดีทั้ง 2 อาจารย์ครับ แต่ฟังดูแล้วของ อ.พิชญา ดูมีความเป็นไปได้มากกว่า

  • @oatosang6972
    @oatosang69723 жыл бұрын

    เป็นการถกเถียงที่ดีมากครับ ไม่ได้ถกเถียงกันถึงขั้นเอาเป็นเอาตายค้านหัวชนฝา แต่มีทฤษฎีรองรับทุกการนำเสนอ

  • @dr.supachaikanchanapokin5033
    @dr.supachaikanchanapokin50333 жыл бұрын

    Channel นี้เยี่ยมยอดมากครับ เราไม่ได้แค่ดูการหักล้างกันทางวิชาการอย่างเดียว แต่เราได้เห็นการใช้ ภาพ เสียง และการตัดต่อ ผสมกับความเห็นจากนักวิชาการ ทำให้เข้าใจประเด็นได้อย่างชัดเจน

  • @SUMATEKSHOW
    @SUMATEKSHOW3 жыл бұрын

    อยากเรียนกับอาจารย์ทั้ง2จัง ชอบนะอาจารย์มหาวิทยาลัยแบบนี้จัง นักวิชาการแบบนี้​คือความต้องการสังคมการศึกษาไทย

  • @tsarrun7262
    @tsarrun72622 жыл бұрын

    รุ่งโรจน์ เหมือนคนไม่เปิดใจ รับข้อโต้แย้งคนอื่น เอาความคิดตัวเอง ที่เชื่อว่า พระเศียรใหญ่ เป็น พระศรีสรรเพชญ เป็นที่ตั้ง

  • @phophora4893
    @phophora48933 жыл бұрын

    อ พิชญา ถูกต้องนะครับ ความรู้เทคนิคช่างทีาเกี่ยวกับการสร้างพระศาสนาสืบถอดมานานมาแล้วครับก่อนจะมีอยุธยาอีก มีคติการสร้างนะครับ

  • @ballwahaha9713
    @ballwahaha97133 жыл бұрын

    กำไรของผู้ชมทั้งนั้นที่จะได้เก็บไว้ในคลังความรู้ ถกด้วยเหตุผลและหลักฐานวิชาการ สนุกมาก

  • @MrAnatta0
    @MrAnatta03 жыл бұрын

    พระพักตร์​คล้ายพระพุทธชินราชมาก มีอุณาโลมกลางหน้าผากเหมือนกัน น่าจะได้อิทธิพลมาจากศิลปะสุโขทัย ผสมอู่ทอง อยุธยา ผมนำภาพมาเทียบกัน ต่างกันที่เม็ดพระศกจะถี่กว่า

Келесі