ใช้ไฟเบอร์ แทน เหล็ก ได้ไหม ?? (GFRP VS Steel) | คุยกับลุงช่าง

📌ตอนนี้ลุงได้พยายามตอบคำถามให้มากและเร็วขึ้นด้วยการเพิ่มรอบ Live ใน
วันพุธ เวลา 20.00 น.
วันอาทิตย์ เวลา 19.00 น.
แนะนำให้เข้าไปถามคำถามใน Live กันนะครับ จะได้แบ่งปันคำตอบสำหรับคนอื่นๆ ที่มีคำถามเดียวกันด้วยครับ
📢📢ติดต่อได้ที่
FB : / talk2lungchang
Messenger : m.me/talk2Lungchang
Tel : 083 997 7110
📢📢 ติดต่อโฆษณา 📢📢
Tel : 083 997 7110 , 085 954 4566 (09.00-18.00 น.)
Email : kriengkrai_ce@hotmail.com
#คุยกับลุงช่าง #ลุงช่าง #talk2Lungchang #@lungchang

Пікірлер: 297

  • @kaoplaomobile6678
    @kaoplaomobile66783 жыл бұрын

    ผมเป็นช่างมาไม่ต่ำกว่า30ปี.แต่ไม่ได้เรียนโดยตรง.อาศัยประสพการณ์ล้วนๆ.แต่มาฟังลุงช่างแล้วได้ความรู้เสริมเป็นอย่างมาก.วัสดุการก่อสร้างใหม่ๆออกใหม่มาตลอด.บางทีช่างก็ตามไม่ทัน.ก็ได้ความรู้จากลุงช่างนี้แหละครับ.ที่ให้ความรู้.เกล็ดเล็กเกล็ดน้อย.จะอัพเดตให้ตลอด.ขอบคุณมากครับ

  • @user-bv4ze4pr8s

    @user-bv4ze4pr8s

    3 жыл бұрын

    ใช่ครับเห็นด่วยกับเม้นนี้ครับ เยี่ยมเลยครับ

  • @supapornkamlangsanga4552

    @supapornkamlangsanga4552

    3 жыл бұрын

    +1

  • @kuikublungchang

    @kuikublungchang

    3 жыл бұрын

    ยินดีครับ 😊

  • @user-ep9fe1qh3j

    @user-ep9fe1qh3j

    2 жыл бұрын

    เห็นด้วยค่ะ

  • @eakwitpadmalid347

    @eakwitpadmalid347

    2 жыл бұрын

    ผมก็รับเหมามานาน แต่เป็นคนชอบแลกเปลี่ยนนะ และรับฟังเทคนิคใหม่ๆ

  • @bothchick4962
    @bothchick49623 жыл бұрын

    คุณต้องระวังนะครับ ผมเรียนจบวิศวะโยธามา ในเรื่องการคำนวณผมทราบดีครับว่า "ทำไม่ได้โดยเด็ดขาด" มันน่ากลัวตรงที่คนขายเอาจุดที่ Fiber รับแรงดึงได้ดีกว่าเหล็กมาหลอกขาย ซึ่งมันก็อาจจะจริง แต่สิ่งนี้มันไม่ได้ทำให้โครงสร้างบ้านคุณแข็งแรงขึ้นนะครับ !!! ผมจะอธิบายง่าย ๆ แบบนี้ว่าในการออกแบบคานมา 1 ตัว เราออกแบบไว้เผื่อมันเกิด Accident เช่นถ้ามีคนไม่รู้เรื่องมาดัดแปลงห้องนอนเป็นห้องสมุด แบบนี้น้ำหนักบรรทุกมันจะเกินไปจากที่วิศวกรออกแบบไว้ และถ้าเกิดมันถล่มขึ้นมา มันจะสามารถถล่มได้ 2 โหมด คือ (ยังไม่นับเรื่องการเฉือนพังจากแรงเฉือน เพื่อให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่าย) 1. โหมดที่คอนกรีตพังเป็นหลัก (Compression Failure) 2. โหมดที่เหล็กพังเป็นหลัก (Tension Failure) โดยการพังในทั้ง 2 กรณีมันมีพฤติกรรมต่างกันดังนี้ครับ 1. โหมดที่คอนกรีตพังเป็นหลัก คานคุณจะระเบิดและถล่มลงมาทันทีโดยไม่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า ผู้อยู่อาศัยในอาคารจะอพยพไม่ทัน และตายแบบไม่รู้ตัว 2. โหมดที่เหล็กพังเป็นหลัก สำหรับการพังของเหล็ก เหล็กจะไม่ระเบิดทันทีแบบคอนกรีต แต่จะเกิดการครากก่อน (ค่อย ๆ ยืดแบบหนังสติ๊ก) ซึ่งนั่นจะประวิงเวลาในผู้อยู่ในอาคารสามารถตั้งตัวได้ทันก่อนที่การถล่มของจริงจะมาถึง สัญญาณที่ผู้อยู่อาศัยสังเกตได้ก็อาจจะเป็นการแอ่นตัวของคานที่ผิดปกติ และรอยร้าวในคอนกรีตที่ค่อย ๆ ใหญ่ขึ้น ดังนั้น วิศวกรจะออกแบบให้เหล็กนั้นมีความอ่อนแอกว่าคอนกรีต เพื่อให้เวลาที่มันพัง มันจะได้ค่อย ๆ พังลงมา และประวิงเวลาให้คนอพยพได้ทันก่อนการถล่มจริงจะมาถึง และแน่นอน ผมรับไม่ได้อย่างมากที่คนขายบอกให้เสริม Fiber แทนเหล็กไปเลยเพราะเหนียวกว่าเหล็ก ไอ้จุดที่มันเหนียวกว่าเหล็กนี่แหละที่มันจะไปเปลี่ยนพฤติกรรมในส่วนที่เสริม Fiber ให้แข็งกว่าคอนกรีต และเมื่อ Fiber เอาชนะคอนกรีตได้ คานคุณจะหักลงมาทันทีโดยไม่มีลางบอกเหตุใด ๆ สำหรับการเสริมเหล็กในคอนกรีตนั้น มันเป็นศาสตร์ที่พัฒนามาตั้งแต่สมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมันก็พัฒนาเรื่อยมา และมีมาตรฐานสำหรับการออกแบบออกมาใหม่ทุก ๆ 4 ปี มาตราฐานล่าสุดคือ ACI318-19 ซึ่งนี่ก็คือมาตรฐานที่ใช้สำหรับคอนกรีตเท่านั้น ผมไม่ได้บอกว่า Fiber เสริมไม่ได้นะ มันเสริมได้หากมีการสร้างมาตรฐานออกมา และวิศวกรให้การยอมรับ ผมว่ามันเป็นเรื่องที่ดีที่จะศึกษา และเปลี่ยนผ่านวัสดุไปใช้ Fiber แทน แต่สำหรับตอนนี้มันทำไม่ได้ครับ บ้านคุณอาจจะไม่ถล่มลงมาในตอนนี้ แต่ถ้าวันดีคืนดีมันเกิดถล่ม มันจะถล่มทันทีแบบไม่มีลางบอกเหตุเลยนะครับ

  • @user-iw2oh1jb8c
    @user-iw2oh1jb8c3 жыл бұрын

    ในมุมมองผมฐานะ วิศวกรควรมอง 1.code การออกแบบ วสท.ที่รับรอง 2.เทียบคุณสมบัติสัดส่วนผสมการผลิตเหล็ก (มองตามหลักวิชา strrenghtและmaterials engineer 3.มองความเป็นปัจจุบันและสถาบันที่รับรองการทดสอบวัสดุ

  • @puna9053
    @puna90533 жыл бұрын

    ที่น่าหนักใจที่สุดคือ ไม่ทนความร้อนเลยนี่แหละครับ ถ้าเกิดheat transfer เข้ามาภายในโครงสร้าง มันจะทำให้วิบัติอย่างรวดเร็ว บวกกับความเหนียวของวัสดุต่ำ โดยเฉพาะ คาน และ พื้น ใครเอามาใช้ทำโครงสร้างวันดีคืนร้ายไฟไหม้ เหมือนติดระเบิดเวลาเอาไว้เลยครับ

  • @user-df6yy5fk7p
    @user-df6yy5fk7p2 жыл бұрын

    Grass fiber reinforcement น่ำหนักเบากว่าเหล็ก ทดการกัดกร่อน ดีกว่าเหล็ก แต่รับแรงได้น้อยกว่าเหล็ก ผมเขียนหนังสือ ไว้เล่มหนึ่ง เป็นภาษาไทยอ่านเข้าใจง่ายครับ ได้รับตีพิมพ์ ในนิตยสารต่างประเทศ ครับในงานวิจัย ป.โท ไปหาอ่านได้ครับ ที่ หอสมุดแห่งชาติ แต่เรื่องความแข็งแรง มีการทดสอบ และตรวจวัด ตามมาตราฐาน ASTM หากจะเปรียบกันเพื่อเอาไปใช้งาน ต้องดูตาม ASTM ครับ

  • @keepquietnajaa518

    @keepquietnajaa518

    10 ай бұрын

    รบกวนขอชื่อหนังสือหน่อยครับ เป็นวิทยานิพนธ์ใช่มั้ยครับ ของม.ไหนครับ จะได้หาง่ายๆหน่อยครับ

  • @poonyawatjunponto7908
    @poonyawatjunponto79083 жыл бұрын

    ผมเรียนวิศวะโยธาดูคลิปลุงช่างเหมือนนั่งฟังประสบการณ์จากรุ่นพี่ เจ๋งมากครับ

  • @samphanchubtasri7440
    @samphanchubtasri74403 жыл бұрын

    ชัดเจนทุกประเด็น 👍 ขอบคุณครับ🤘

  • @jubchan9071
    @jubchan90713 жыл бұрын

    ขอบคุณมากค่ะ ได้ความรู้เพิ่ม

  • @achichompoobut2099
    @achichompoobut20993 жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ ลุงช่าง

  • @Teslaa-usa-live
    @Teslaa-usa-live3 жыл бұрын

    มีประโยชน์มากคลิปนี้👍⭐⭐⭐⭐⭐

  • @wattanadulyachai9358
    @wattanadulyachai93583 жыл бұрын

    ขอบคุณลุงช่างมากๆ เลยครับ ที่ทำ Clip ดีๆ มาให้เป็นความรู้ครับ ขอบคุณมากครับลุงช่าง

  • @piam2piamsak
    @piam2piamsak3 жыл бұрын

    กำลังอยากรู้เลยครับ ขอบคุณครับลุงช่าง

  • @MKOtto0
    @MKOtto02 жыл бұрын

    คลิปนี้มีประโยชน์มากครับ ขอบคุณครับ

  • @user-vj1ep4us3h
    @user-vj1ep4us3h3 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ ได้ความรู้ จากลุงช่าง ทุกครั้งที่เข้ามาชมครับ

  • @rabeangmaithai1573
    @rabeangmaithai15733 жыл бұрын

    ละเอียดมากๆ ครับ ขอบคุณลุงช่างและทีมงานทุกท่านครับ

  • @manojp5999
    @manojp59993 жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆ กำลังสนใจเรื่องนี้อยู่ และสงสัยว่ามีการผลิตตัวนี้มาหลายปีแล้วแต่มีข่าาวการใช้อ้างอิงน้อยครับ

  • @christophergamerid1624
    @christophergamerid16243 жыл бұрын

    ขอบคุณครับลุง ที่ทำคลิปให้ความรู้ ชอบใจอีกอย่างคือมีแหล่งอ้างอิงคำพูด

  • @dekwatjonjon
    @dekwatjonjon2 жыл бұрын

    ผมมักมีข้อสงสัยเกี่ยวกับวัสดุก่อสร้าง และอุปกรณ์ตกแต่งเสมอ และก็ได้มาเจอลุงช่างนี่แหละที่มีคำตอบให้ในข้อสงสัยตลอด ขอบคุณลุงช่างมากๆครับ🙏🙏🙂

  • @user-ke1gd2eq9q
    @user-ke1gd2eq9q3 жыл бұрын

    ชอบมาครับอาจารย์ ได้ความรู้เยอะเลยครับ

  • @janevitleeram9012
    @janevitleeram90123 жыл бұрын

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ

  • @user-ep4tl3yh8e
    @user-ep4tl3yh8e3 жыл бұрын

    สวัสดีคะลุงช่าง ได้ความรู้มาก พวกเรา ได้รู้ความแตกต่าง เสียทีว่าอะไร ดีกว่า 👍😄😀😊

  • @fighterpsd8145
    @fighterpsd81453 жыл бұрын

    ชอบมากครับลุงช่าง ใช้ประสบการณ์มาอธิบาย Tensile graph และใช้ภาษาเข้าใจง่ายมากครับ ไม่ technical มาก เหมาะกับทุกๆท่านที่เข้ามาหาความรู้เพิ่มเติมครับ เป็นกำลังใจให้ครับลุงช่างทำต่อไปเรื่อยๆ ติดตามครับ

  • @StorySTORY-ts5kf
    @StorySTORY-ts5kf3 жыл бұрын

    ได้ความรู้ดีมากครับ

  • @user-ok7qh5if4o
    @user-ok7qh5if4o3 жыл бұрын

    ขอบคุณมากคับลุงช่าง

  • @KrisdarTV
    @KrisdarTV3 жыл бұрын

    ได้ความรู้ที่เป็นประโยชน์มากครับ ทำให้รู้จัก ลุงช่าง อีกด้วยว่า ไม่ธรรมดา เป็นคนที่มีปัญญา ภูมิความรู้จริง สรรหาแนะนำสิ่งที่ดีถูกต้อง เพื่อให้ผู้ชมได้สาระความรู้ นำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เป็นประโยชน์มาก ขอบคุณมากครับลุงช่าง ❤️😍😘😊😃👍🙏💐💎🕯

  • @user-ou6gw5vr4n
    @user-ou6gw5vr4n3 жыл бұрын

    ขอขอบคุณมากครับ

  • @chitmylaw6110
    @chitmylaw61103 жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆค่ะ เห็นเฟส ตกใจมากส่าจริงหรื อ แถมเชิญมาเป็นตัวแทนด้วย ลุงช่างทันามัยมากกกกค่ะ

  • @pskp8851
    @pskp88513 жыл бұрын

    หน้าที่ของเหล็กเสริม เหล็กเสริมในเสาช่วยรับแรงกด เหล็กปลอกในเสาช่วยรับแรงอัด เหล็กเสริมในช่วงหัวคานช่วยรับแรงบิดด้านบนของคานใกล้เสา เหล็กเสริมในกลางคานช่วยรับแรงบิดด้านล่างของคาน(ท้องคาน) เหล็กปลอกในคานช่วยยึดเหล็กเสริมและเนื้อปูนเข้าด้วยกันและช่วยให้เหล็กเสริมทำหน้าหลักได้อย่างมีประสิทธิภาพในการรับแรงบิดได้สูงขึ้น GFRP รับแรงดึงในแนวเส้นตรงได้มากกว่าเหล็ก ซึ่งโครงสร้างอาคารไม่ต้องการ ไม่มีส่วนไหนของอาคารต้องการรับแรงดึงในแนวดิ่ง หรือในแนวนอนเลย มีแต่สะพานแขวนที่บางส่วนต้องการแรงดึงในแนวดิ่ง แต่ไม่ใช่ทุกส่วน CFRP น่าจะนำมาใช้ประโยชน์ในการหิ้วฝาเพดาน หิ้วระบบท่อสุขาภิบาลที่ไม่แกว่งตัวมากได้

  • @phanakorniangprakhon2137
    @phanakorniangprakhon21373 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ บางคนแค่อยากเปลี่ยนตามกระแสโดยไม่ศึกษาหาข้อมูลก่อน ระวังไว้ด้วยครับลุงช่างเตือนแล้วน่ะ

  • @user-pf3om7yv9p
    @user-pf3om7yv9p3 жыл бұрын

    ชอบมากครับลุงช่างอธิบายเข้าใจง่ายครับ มีการใช้ Paper ดีมากเลยครับ

  • @nontpathompon4626
    @nontpathompon46263 жыл бұрын

    เห็นในเฟซบุคเหมือนกันครับ กำลังสงสัยเลย ส่วนตัวก็เห็นว่ามันรับแรงดึงได้มากกว่าแต่ลืมนึกในส่วนของแรงอัดไป ขอบคุณสำหรับความรู้นะครับ

  • @user-pf8kt3rf9q
    @user-pf8kt3rf9q3 жыл бұрын

    เครียครับ สุดยอดครับลุงช่าง

  • @wdawdawdawd263
    @wdawdawdawd2633 жыл бұрын

    ขอบคุนครับ

  • @user-bv4ze4pr8s
    @user-bv4ze4pr8s3 жыл бұрын

    ขอให้ทำคลิปดีๆแบบนี้ออกมาเยอะๆนะครับ ได้ความรู้ครับ

  • @ingsuan
    @ingsuan3 жыл бұрын

    ขอเสริมเรื่องแรงเฉือนด้วยครับ เหล็กรับแรงเฉือนได้ดีแต่ GFRP รับแรงเฉือนได้ต่ำมากดังนั้นเอาไปใช้ทำเหล็กปลอกไม่ได้ครับ

  • @thanusc9844
    @thanusc98443 жыл бұрын

    ขอบคุณครับความรู้ดีๆ จากอาจารย์..ผมใช้งานอยู่ทำซุ้มต้นไม้โครงหลังคา โค้งงอได้สูงดีมาก ไม่หัก ทนแดดทนฝนไม่เป็นสนิม สรุปผมชอบมันครับ

  • @suppachaiuppachittakul7550
    @suppachaiuppachittakul75503 жыл бұрын

    คือผมพึ่งทำวิจัยเรื่องนี้เสร็จเลยครับคือตัวGFRPเนี้ยมันรับแรงอัดไม่ได้เลย แต่ถ้าทำเป็นท่อรัดรอบก็พอจะช่วยได้แต่ว่าตัวคอนกรีตที่หุ้มด้วยGFRPเนี้ยมันจะวิบัติแบบทันทีทันใด ซึ่งไม่เหมาะสมเท่าไหร่กับการนำมาใช้งาน

  • @kewintaylor7056

    @kewintaylor7056

    3 жыл бұрын

    นี่ถ้าใช้แทนกันได้ เราก็จะมีตึกที่ ไม่ต้องห่วงเรื่องสนิม.. ...อิอิ

  • @user-gu7wc4lr2j
    @user-gu7wc4lr2j3 жыл бұрын

    รักลุงช่างครับ

  • @aittisakwongcheroenwai4617
    @aittisakwongcheroenwai46173 жыл бұрын

    ขอบคุณครับผม

  • @user-tx5md9hs7c
    @user-tx5md9hs7c3 жыл бұрын

    ตรงประเด็น..นี่คือเรื่องจริง.ที่ต้องทราบ และต้องเข้าใจ.👍👍👍

  • @kuikublungchang

    @kuikublungchang

    3 жыл бұрын

    ใช่ครับ

  • @user-uh5cb2jx5x
    @user-uh5cb2jx5x3 жыл бұрын

    อันนี้ดีครับชอบมาก ตามบ้านนอกเนี่ยช่างรู้มากเกินครับ

  • @tobeten
    @tobeten3 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ

  • @panupongobkaew3503
    @panupongobkaew35033 жыл бұрын

    รอลุงนี่แหละ

  • @wnkn997
    @wnkn9973 жыл бұрын

    เขาผลิตมาทำค้างผักครับ..แทนไม้ลวกไม้ไผ่ครับลุง

  • @user-wb5qk5zc5o
    @user-wb5qk5zc5o Жыл бұрын

    ขอบคุณมากๆ ครับ ลุงช่าง

  • @tossaponMAX
    @tossaponMAX3 жыл бұрын

    น่าสนใจมากครับ

  • @VKK072
    @VKK0723 жыл бұрын

    จบทุกประเด็น .

  • @user-ng8xr6oe7f
    @user-ng8xr6oe7f3 жыл бұрын

    ด้วยความเคารพ ผมมีความเห็นเช่นเดียวกับอีกหลายท่านเรื่องหน้ากากอนามัยครับ

  • @hydraulicdropwater4072
    @hydraulicdropwater40723 жыл бұрын

    เจอใน Facebook เหมือนกัน แต่ผมไม่รู้จัก คุณสมบัติ ของมัน ขอบคุณ ลุงช่างมากครับ

  • @kuikublungchang

    @kuikublungchang

    3 жыл бұрын

    ยินดีครับ 😊

  • @Akrapasit
    @Akrapasit3 жыл бұрын

    ฟังแล้ว การใช้ gfrp เป็นเรื่องที่น่าอันตรายมาก

  • @PorWalkerStudio
    @PorWalkerStudio7 ай бұрын

    สาระดีมากครับ

  • @prasanphosurin2131
    @prasanphosurin21313 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ!เบิกเนตร!

  • @prasertphlapeng9305
    @prasertphlapeng930510 ай бұрын

    ชัดเจนมากครับ ช่างบางคนอ้างว่าแต่ตัวเองทำมานานทำมาเยอะ คือคิดว่าสิ่งที่ตัวเองเคยทำมานั้นมันถูกต้อง แต่จริงๆ แล้วมันผิด😂

  • @bigbassnon
    @bigbassnon3 жыл бұрын

    เจอในกลุ่มวิศวกรในเฟสเต็มเลยครับ

  • @___111paterrabbit69tuyp
    @___111paterrabbit69tuyp3 жыл бұрын

    สาระ มาเต็มจริงๆ

  • @tai51036
    @tai510363 жыл бұрын

    อยากทำห้องครัว ลุงช่างทำคลิปแนะนำหน่อยครับ

  • @giantdream3946
    @giantdream39463 жыл бұрын

    ช่วง ที่ลุงช่าง👷 กับทีมงาน👫 อยู่ด้วยกัน อยากให้ ใส่หน้ากากอนามัย😷 หรือ หน้ากากผ้า😷 ด้วยครับ ✌️ ป้องกันโรคระบาด เดี๋ยวจะผิดกฏทาง สาธารณสุข ครับ 🙏🙆‍♂️🙋‍♂️

  • @kuikublungchang

    @kuikublungchang

    3 жыл бұрын

    ขอบคุณครับ 😊

  • @prawitsanosang4026
    @prawitsanosang40263 жыл бұрын

    ทำถนน ดีที่สุดครับผม

  • @TheKobkob30
    @TheKobkob302 жыл бұрын

    ตอนนี้ที่บ้านมีปัญหามากค่ะ กำลังสร้างไปได้ครึ่งทาง วัสดุทดแทน(ตามที่ซัพพลายเออร์แอบอ้างมา!) ตอนนี้คานร้าว ตกท้องช้างทั้งหมด กำลังจะต้องทุบสร้างใหม่ค่ะ ตัดสินใจพลาดมากที่สุดในชีวิต

  • @naranyakornnarathawaranan9393

    @naranyakornnarathawaranan9393

    4 ай бұрын

    วัสดุทดแทนตัวไหนหรอครับ

  • @manojp5999
    @manojp59993 жыл бұрын

    อีกถามอีกข้อครับ GFRP ใช้แท่นเหล็กในงานพื้น คสล ดีไหมครับ ได้ประโยชน์จากแรงดึง และนํ้าหนักที่เบากว่า

  • @bmnv3955
    @bmnv39553 жыл бұрын

    ໄດ້ຄວາມຮູ້ຫລາຍລຸງຊ່າງ👍🇱🇦

  • @Alice_zuberg207
    @Alice_zuberg2072 жыл бұрын

    ดูลุงช่างได้ความรู้มากครับไม่ต้องหา​ ลุงช่างสรุปให้เข้าใจเลย🤓

  • @10pm.18
    @10pm.183 жыл бұрын

    ลูกบิดประตูเย็น ทำยังไงครับครับลุงช่าง

  • @user-xj2nh5hf6c
    @user-xj2nh5hf6c2 ай бұрын

    มันใช้แทนเหล็กได้ดีเหลอครับ ผมเห็นด้วยกับอาจารย์ถ้าเกิดแผ่นดินไหวมันพังง่าย มันอันตรายต่อมนุษย์ ขอให้เหล็กราคาถูกพอ 🙏 ต้องคิดถึงอานาคตด้วย

  • @manasung8864
    @manasung88642 жыл бұрын

    อาจารย์ครับ ผมรบกวนขอสอบถามนะครับ ถ้าเราใช้ไฟเบอร์มาเสริมเพิ่มเติมเข้าไป โดยไม่ได้เอาโครงสร้างหลักออก จะดีกว่าไหมครับ และมันสามารถช่วยได้มากน้อยแค่ไหน ขอบคุณครับ

  • @user-fi2rt5zk9d
    @user-fi2rt5zk9d3 жыл бұрын

    เหมือนที่ลุงช่างเคยพูดไว้ในคลิป คอนกรีตเสริมไม่ไผ่เลยครับ555+

  • @arunaunalua8875
    @arunaunalua88753 жыл бұрын

    อืม คลิปนี้ได้ความรู้ดีครับ

  • @manojp5999
    @manojp59993 жыл бұрын

    ข้อคำแนะนำอีกหนึ่งครับ เรื่องหน้าตัดเสาและคาน คสล (เสา 35x35 = 25x49 ? พท. หน้าตัดเท่ากัน)

  • @awts.
    @awts.3 жыл бұрын

    หลังจากนี้เวลาจะสร้างบ้านถ้าช่างแนะนำให้ใช้ FRP ถามกลับเลยว่ามีข้อดีแล้วข้อเสียคือไร ถ้าตอบไม่ได้นี่เลิกจ้างได้เลยไม่น่าไว้ใจ

  • @user-rp5vc3dh2i
    @user-rp5vc3dh2i3 жыл бұрын

    ผมคิดว่าถ้าใช้ในโครงสร้างที่ไม่ซีเรียสมาก ใช้ชั่วคราวก็พอได้คับ

  • @wanlop1
    @wanlop13 жыл бұрын

    เรื่องจริงครับ คุณสมบัติ หลายอย่างไม่ครบเหมือนเหล็ก ผมว่าเอามาเเทนไม้ไผ่ได้นะ น่าสนๆๆๆๆ

  • @wanlop1

    @wanlop1

    9 ай бұрын

    ลุงช่าง ครับเห็นมี มอก. แล้วหรือครับเป็นยังไงบ้างอัพเดททีครับ

  • @bestpittaya8279
    @bestpittaya82793 жыл бұрын

    อธิบายเรื่องนี้แล้ว ช่วยอธิบายเรื่องเสาเข็มเหล็กด้วยได้มั้ยครับ ว่าระหว่างไมโครพาย ตัวนี้ไหนข้อดีข้อเสียยังไง

  • @goodyjerky5249

    @goodyjerky5249

    3 жыл бұрын

    ดูวีดีโอย้อนหลัง

  • @user-rp5vc3dh2i
    @user-rp5vc3dh2i3 жыл бұрын

    อายุการใช้งานครับ มันจะทนกว่าเหล็กมั้ย แล้วทนไฟสู้เหล็กได้มั้ย คิดให้หนักๆคับ ถ้าโครงสร้างระยะยาว

  • @miredmi6693
    @miredmi66932 жыл бұрын

    ดีมากกก อ.ลุงช่าง _/l\_

  • @jokejoke7697
    @jokejoke76973 жыл бұрын

    ขอให้ลุงช่างมีความสุขมากๆครับ อย่ากลัวทีจะทำคริป ให้ความกระจางแก่ทุกคน ครับ

  • @Sizenom
    @Sizenom3 жыл бұрын

    ดีจ้า

  • @Mp-lx7kk
    @Mp-lx7kk3 жыл бұрын

    มี Code design นะครับ ACI 440

  • @user-gl6sl8lb5g
    @user-gl6sl8lb5g Жыл бұрын

    ตามมาจากติ๊กต๊อกคับ โรงงานผลิตเหล็กข้ออ้อย แถวชลบุรี

  • @tu1045
    @tu10453 жыл бұрын

    ไทยคงยังไม่น่ากระโดดไปใช้ GFRP เอาเหล็กชุบสังกะสี(Hot-dipped Galvanized) ใช้ในพื้นที่ที่มีสภาพการกัดกร่อนรุนแรง และถ้ารุนแรงมากก็ควรใช้สแตลเลสสตีล

  • @kimmyjung5707
    @kimmyjung57073 жыл бұрын

    ลุงครับ คุยเรื่องทำไหมหล็กเเพงขึ้นครับ

  • @alexlo7708
    @alexlo77083 жыл бұрын

    aramid fibre มีใช้นานแล้ว ในยาง Good year ใช้แทน เส้นลวดในเนื้อยาง รถที่บ้านก็ใช้อยู่ อิๆ GFRP แทนรีบาร์ นี่เยอรมันเอามาใช้เป็นคนแรก แล้วก็แพงกว่าเหล็กเส้นด้วย แต่ในคลิปบอกว่าถูก ก็คงไม่ใช่ของเยอรมัน ถ้าใช้ในบ้านเรา แบบให้ตรงกับงาน เช่นใช้ในพื้น หรือ เพดาน ที่ส่วนใหญ่เป็นแรงดึง จะแก้ปัญหา เหล็กโดนความชื้นผุเป็นสนิม แล้วระเบิดคอนกรีตออกมา แต่ก็มองว่า ในคอนกรีต หินมันรูปร่างไม่จำกัด พวกพลาสติก เจอหินคม มาอยู่ชิด ถ้ามีแรงกดลงมา มีหวังพัง อิๆ

  • @TheAutisticTame
    @TheAutisticTame2 жыл бұрын

    แสดงว่าถ้าใช้ผสมผสานกับเหล็ก จะได้ไหมครับเพื่อลดค่าใช้จ่าย

  • @tossakanpresent1815
    @tossakanpresent18153 жыл бұрын

    นึกถึงไม้ไผ่เลยครับ

  • @goodyjerky5249

    @goodyjerky5249

    3 жыл бұрын

    บ้านดินเสริมไม้ไผ่อยู่หลายร้อยปี

  • @Kiatichai-bm1yh
    @Kiatichai-bm1yh3 жыл бұрын

    ฟังแล้วน่ากลัวมากกับคนขายของที่ไม่มีจริยธรรม

  • @kewintaylor7056

    @kewintaylor7056

    3 жыл бұрын

    คนทำมาขายคงคิกว่าดี แบบไม่มีความรู้ แต่คนที่เอาไปใช้นี่ ยิ่งกว่า เค้าบอกมายังไง ก็เอาตามนั้น โดยไม่สงสัย คนซวยคือเจ้าของบ้าน...😫😂😱

  • @kuikublungchang

    @kuikublungchang

    3 жыл бұрын

    ค่อยๆศึกษา และนำไปใช้กับสิ่งที่เหมาะสมดีกว่าครับ

  • @cnautoservice
    @cnautoservice3 жыл бұрын

    น่าจะใช้งานที่ต้องสัมผัสน้ำเค็ม เพราะถ้าใช้เหล็กจะเกิดสนิมปูนจะกระเบิดแตกสังเกตุจะพบเห็นตามสะพานเทียบเรือตามชายทะเล ถ้้าใช้จริงคงต้องใส่มากกว่าเหล็กหลายเท่าความแข็งแรงจึงจะได้เทียบเท่าเหล็ก (จริงเท็จอย่างไรรอผู้รู้ครับ ผมช่างยนต์ไม่ใช่ช่างก่อสร้าง)

  • @Placker_Wolf
    @Placker_Wolf3 жыл бұрын

    จะเอาอะไรมาทดแทนคนเราต้องมองทุกด้านเนอะ ถ้ามันดีกว่าทุกอย่างค่อยเอามาแทน

  • @newcarnewroadchannel4172
    @newcarnewroadchannel41723 ай бұрын

    มีคลิปต่างชาติทดลองนำมาทำเสารับแรงเปรียบเทียบ​กับเหล็กตามขนาดมาตรา​ฐาน​ผลทดสอบเสาเหล็กรับแรงดึงได้มากว่า

  • @user-or1bz5eu5r
    @user-or1bz5eu5r3 жыл бұрын

    GFRP...ใช้ในโครงหลังคาได้มั้ยครับ

  • @gghch8783
    @gghch87833 жыл бұрын

    ทำเรื่องที่ลมพายุทำให้ผนังบ้านถล่มทาทับเด็กหน่อยครับ ผมส่งสัยว่ามันพังงายขนาดนั้นเลยหรือ

  • @sukanyasakaew917
    @sukanyasakaew91727 күн бұрын

    ลุงช่างคะ หนูเห็นตอนนี้มีบริษัทที่ได้รับมาตรฐาน มอก. แล้วในประเทศไทย และตอนนี้หนูกำลังจะตัดสินใจลองเอาตัวGFRP มาใช่ทำสระว่ายน้ำที่บ้านค่ะ หนูขอความเห็นจากลุงช่างด้วยนะคะ ขอบคุณมากค่ะ🙏

  • @kuikublungchang

    @kuikublungchang

    26 күн бұрын

    มอก เป็นมาตรฐานการผลิตครับส่วนการนำมาใช้เป็นเรื่องของการออกแบบและคุณสมบัติของวัสดุคนละเรื่องกันนะครับอย่าไปหลงประเด็น

  • @Lertnalong08
    @Lertnalong083 жыл бұрын

    รบกวนถามลุงช่างครับ ผมจะรื้อบ้านเก่าแบบโบราณ ทำแบบบ้านใหม่ แต่ผู้รับเหมาเขาบอกว่าสามารถ ใช้เสาเดิมได้ ซึ่งเสาเดิมกับเตี้ยกว่าเพราะบ้านเก่าเป็น 2 ชั้น จะทำใหม่เป็นชั้นเดียวสไตล์โมเดล ต้องให้เสาสูงกว่า และเขาจะต่อเสาเดิมขึ้นไปให้สูงขึ้นไปอีก สามารถทำได้ใหมครับ และจะแข็งแรงไหมครับ ขอบคุณลุงช่างครับ

  • @user-gl6sl8lb5g
    @user-gl6sl8lb5g Жыл бұрын

    ถ้าเป็นเหล็ก non t SD40 บริษัท ผม Tensile 69-73 Kgf./mm.2 คิดเป็น650-750Mpa.

  • @prasongtosungnern7801
    @prasongtosungnern78013 жыл бұрын

    สุดยอดครับอาจารย์ลุงช่างผมเรียนมาน้อยแต่ช่องนี้ความรู้ล้วนๆครับ

  • @MrSurasakk
    @MrSurasakk3 жыл бұрын

    อยากจะฟังเรื่องตาข่ายไฟเบอร์ครับ

  • @tu1045

    @tu1045

    3 жыл бұрын

    ตาข่ายนี้ผมว่าน่าใช้

  • @paulaiab9525
    @paulaiab95253 жыл бұрын

    เหมือนไปนั่งเรียนด้วยเลยครับ

  • @user-xy9sb5dh9l
    @user-xy9sb5dh9l2 жыл бұрын

    หรือทะเล ทะเล เหล็กแช่น้ำตามเวลา สอดใส่เหล็กไม่มีสะนิม ถ้ารู้จัก สอดใส่ใช้อยู่ใน ถ้าแตกจากนอกเมื่อไร พึงนับการแช่น้ำทะเล ของเหล็กใช้ ไม่ได้หยุด แค่เริ่มนับการซ่อมแซมถ้า10-20-30-40ปี น้ำไม่เข้า ถึงเหล็กใส่ ก็ไม่น้ำถ้าแค่เหล็กหุ้มยาง แค่โครงสร้างเข้ารูปให้ยางอยู่ตัวคงรูป แล้วปิดบน ถึงทึ้ง ต่อมอผูกสลิ่ง ติดทุน เป็นเครื่องหมาย แล้ว ยังงัยก็ต้องลง เชือมตัวล๊อกล๊อกสลิง เพื่อช่วย ตัวล๊อกก็ไม่ลุดเกินที่เชื่อม ล๊อกถึงยางพาลอยไม่จุมที่ปรับระดับได้ หมด แค่ดำถึงมัยถ้าสิ่งทึ่ตกลงไปถึงมีเส้นลง ถ้าคนลงถึงจะฝั้งใต้ทะเลก็ทำได้ เพราะเป็นไปไม่ได้ แค่8-12เมตรไม่ใส่หูก็อี้ ขี้นเกียบไม่ทั้น กระจกน้ำยังเข้า

  • @poyesso4728
    @poyesso47282 жыл бұрын

    เทพื้นถนน เสริมไฟเบอร์ได้มั้ยครับ

  • @waratsrisumon3041
    @waratsrisumon30413 жыл бұрын

    ผมเรียนวิศวโยธาอยู่ตอนนี้ปี3กำลังขึ้น4 คลิบของลุงช่างมีประโยชน์มากๆเลยครับ ขอบคุณนะครับ

  • @kuikublungchang

    @kuikublungchang

    3 жыл бұрын

    ขอบคุณที่ติดตามเช่นกันครับ

  • @user-od6oj3ot3i
    @user-od6oj3ot3i4 ай бұрын

    ผมมีประเด็นกับผู้รู้ท่านนึงที่บอกว่าGFRPใช้แทนเหล็กได้ แต่ผมบอกว่าไม่ได้ยังไงก็สู้เหล็กไม่ได้เพราะโครงสร้างไม่ได้คำนึงถึงแรงดึงอย่างเดียวต้องคำนึงถึงอย่างๆปัจจัยลุงช่างให้คำตอบอ้างอิงกับผมจะได้บอกเขาได้ว่าเพราะอะไรและทำไมเราถึงไม่ควรเอาGFRPมาใช้แทนเหล็กครับ

  • @pannapatphadungsin825
    @pannapatphadungsin8258 ай бұрын

    ลุงช่างครับ ผมขอวิจัยที่อ้างอิงหน่อยได้มั้ยครับ ผมอยากศึกษาต่อครับ

Келесі